นโยบายเกี่ยวกับสวัสดิการของผู้สูงอายุในประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • ธัญวรัตน์ แจ่มใส
  • รัชนีกร โชติชัยสถิตย์
  • สุนิสา จุ้ยม่วงศรี

คำสำคัญ:

นโยบายสาธารณะ,, สวัสดิการสังคม,, การพัฒนาระบบสวัสดิการ

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์เรื่องการศึกษาเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุกับปัจจัยส่วนบุคคลและครอบครัวในจังหวัดเพชรบูรณ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ เปรียบเทียบคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลและครอบครัว และแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ มีระเบียบวิธีวิจัยคือ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ศึกษากลุ่มประชากร 2 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้สูงอายุและกลุ่มเจ้าหน้าที่ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ใช้สถิติเชิงพรรณนา การทดสอบค่าทีและความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า

(1) คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุโดยรวม และด้านสภาพร่างกายที่ดี ด้านการตัดสินใจด้วยตนเอง ด้านการรวมกลุ่มทางสังคม ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ด้านสภาพอารมณ์ที่ดีอยู่ในระดับมาก (2) ผู้สูงอายุที่มีเพศแตกต่างกันมีคุณภาพชีวิตโดยรวม  ไม่แตกต่างกัน ผู้สูงอายุที่มีอายุ การศึกษา รายได้และสถานภาพสมรสแตกต่างกัน มีคุณภาพชีวิตโดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (3) แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ ใน 6 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านสภาพความเป็นอยู่ที่ดี  2) ด้านสภาพร่างกายที่ดี 3) ด้านการตัดสินใจด้วยตนเอง 4) ด้านการรวมกลุ่มทางสังคม 5) ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล 6) ด้านสภาพอารมณ์ที่ดี

References

กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. (2563). ข้อมูลประชากรไทยแยกรายอายุ. (ออนไลน์). แหล่งที่มา: https://stat.bora.dopa.go.th สืบค้น 5 พ.ค. 2564.
กรมกิจการผู้สูงอายุ. (2552). แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2545 - 2564) ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1 พ.ศ. 2552. (ออนไลน์). เข้าถึงข้อมูล http://www.dop.go.th สืบค้น 5 พฤษภาคม 2564.
_________. (2564). มาตรการขับเคลื่อนระเบียบวาระแห่งชาติเรื่องสังคมผู้สูงอายุ (ฉบับปรับปรุง). กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
ฐานริณทร์ หาญเกียรติวงศ์ และรุจิกาญจน์ สานนท์. (2561). นโยบายสาธารณะและตัวแบบการกำหนดนโยบายสาธารณะ ใน วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2561).
ทศพร ศิริสัมพันธ์. (2563). วิวัฒนาการของนโยบายสาธารณะและการพัฒนาประเทศไทย จากอดีตสู่อนาคต. (ออนไลน์). แหล่งที่มา: https://ippd.or.th/thai-public-policy/ สืบค้น 24 เมษายน 2564.
บรรลุ ศิริพานิช. (2563). สถนการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2562. กรุงเทพมหานคร: คณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ.
ประเวศ วะสี. (2552). กระบวนการนโยบายสาธารณะ (Public Policy Process). พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: บียอนด์พับลิสซิ่ง.
ปิยภรณ์ ขันเพชร. (2551). การจัดสวัสดิการชุมชนแบบมีส่วนร่วมด้านสุขภาพ: กรณีศึกษาของตำบลท่าโสม อำเภอเขาสมิง จังหวัดตราด. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พัชรินทร์ ธนฤทธิ์ไพศาล. (2560). การเพิ่มมูลค่าอย่างสร้างสรรค์ในการจัดการเกษตรปลอดสารพิษของผู้สูงอายุเพื่อการพึ่งตนเองอย่างยั่งยืน. สุรินทร์: มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์.
มยุรี อนุมานราชธน. (2556). นโยบายสาธารณะ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: เอ็กซเปอร์เน็ท.
มหาวิทยาสุโขทัยธรรมธิราช. (2561). นโยบายสาธารณะและการวางแผน. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
อิงฟ้า สิงห์น้อย และรัฐชาติ ทัศนัย. (2560). นโยบายสาธารณะ: การบริหารและการจัดการภาครัฐ ใน วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร. ปีที่ 6 ฉบับพิเศษ เล่มที่ 5 พฤษภาคม 2560
สมบัติ ธํารงธัญวงศ์. (2544). นโยบายสาธารณะ : แนวความคิด การวิเคราะห์และกระบวนการ. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2563). นโยบายสาธารณะคืออะไร? สำคัญอย่างไรกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. (ออนไลน์). แหล่งที่มา: https://gorporonline.com/articles/what-is-public-policy/ สืบค้น 5 พฤษภาคม 2564.
สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 2, กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ. (2554). การพัฒนารูปแบบการพัฒนาสังคมและสวัสดิการที่สอดคล้องกับความต้องการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและการพัฒนาสังคมของประเทศ: กรณีศึกษาในพื้นที่ความรับผิดชอบของสำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ2. กรุงเทพมหานคร: กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ.
สัญญา เคณาภูมิ. (2559). การกำหนดนโยบายสาธารณะ : ทฤษฎี และกระบวนการ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม- ธันวาคม 2559).
สุดารัตน์ สุดสมบูรณ์. (2557). สวัสดิการสังคมของผู้สูงอายุในประเทศไทย. วารสารเทคโนโลยีภาคใต้. ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2557.
สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. (2537). การเมือง: แนวคิดและการพัฒนา. กรุงเทพมหานคร: เอส แอนด์ เจ กราฟฟิค.
สมบัติ ธำรงธัญวงศ์. (2552). นโยบายสาธารณะ: แนวความคิด การวิเคราะห์ และกระบวนการ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: เสมาธรรม.
สร้อยตระกูล (ติวยานนท์) อรรถมานะ. (2533). สาธารณะบริหารศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
Heinz Eulau และ Kenneth Prewitt. (1973). Labyrinths of Democracy. Indianapolis: Bobbs-
Dye, Thomas R. (1984). Understanding Public Policy. (5th ed). New Jersey: Prentice -Hall, Inc.
Ranasinghe, Dhara. (2013). "This Asian nation faces a growing crisis from aging."
(Online). Access link: http://www.cnbc.com/id/101119344#, Search, 2020
September 6
United Nations. (2015). "UN projects world population to reach 8.5 billion by 2030,
driven by growth in developing countries". United Nations Department of Economic and Social Affairs. (Online). Access link: www.un.org › population › events › other, Search, 2020 September 6

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-05