ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 ต่อธุรกิจร้านอาหาร ในเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร
คำสำคัญ:
ผลกระทบ, ไวรัสโคโรนา 2019, ธุรกิจร้านอาหารบทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาผลกระทบจากการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 ต่อธุรกิจร้านอาหาร ในเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร 2) เพื่อเสนอแนวทางในช่วยเหลือผู้ประกอบการร้านอาหารในเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร ผู้วิจัยได้ใช้แนวทางการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งเป็นการศึกษาและวิเคราะห์จากเอกสาร การสัมภาษณ์เชิงลึก และการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม โดยผู้วิจัยใช้รูปแบบวิธีวิเคราะห์เชิงพรรณนา
ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 ต่อธุรกิจร้านอาหารใน
เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร คือ (1) ร้านอาหารมีจำนวนลูกค้าที่ลดน้อยลงจากเดิม (2) ร้านอาหารมีรายได้ลดน้อยลง (3) ร้านอาหารมีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น (4) ลูกค้ายังขาดความความเชื่อมั่นในการออกมารับประทานอาหาร 2) แนวทางในช่วยเหลือผู้ประกอบการร้านอาหารมีดังนี้ (1) ภาครัฐควรมีมาตรการช่วยเหลือผู้ประกอบการ
(2) ภาครัฐควรมีนโยบายดูแลควบคุมราคาสินค้าและวัตถุดิบให้สอดคล้องกับอุปสงค์และอุปทานของตลาด
(3) ผู้ประกอบการควรสร้างมาตรฐานการปฏิบั
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาผลกระทบจากการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 ต่อธุรกิจร้านอาหาร ในเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร 2) เพื่อเสนอแนวทางในช่วยเหลือผู้ประกอบการร้านอาหารในเขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร ผู้วิจัยได้ใช้แนวทางการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งเป็นการศึกษาและวิเคราะห์จากเอกสาร การสัมภาษณ์เชิงลึก และการสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม โดยผู้วิจัยใช้รูปแบบวิธีวิเคราะห์เชิงพรรณนา
ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 ต่อธุรกิจร้านอาหารใน
เขตธนบุรี กรุงเทพมหานคร คือ (1) ร้านอาหารมีจำนวนลูกค้าที่ลดน้อยลงจากเดิม (2) ร้านอาหารมีรายได้ลดน้อยลง (3) ร้านอาหารมีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น (4) ลูกค้ายังขาดความความเชื่อมั่นในการออกมารับประทานอาหาร 2) แนวทางในช่วยเหลือผู้ประกอบการร้านอาหารมีดังนี้ (1) ภาครัฐควรมีมาตรการช่วยเหลือผู้ประกอบการ
(2) ภาครัฐควรมีนโยบายดูแลควบคุมราคาสินค้าและวัตถุดิบให้สอดคล้องกับอุปสงค์และอุปทานของตลาด
(3) ผู้ประกอบการควรสร้างมาตรฐานการปฏิบัติการใหม่เกี่ยวกับสุขอนามัย (4) ผู้ประกอบการควรหันมาให้ความสำคัญกับการบริหารจัดการต้นทุน ผลการวิจัยนี้ผู้ประกอบการร้านอาหารสามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการปรับตัวเพื่อความอยู่รอดในการดำเนินธุรกิจได้
ติการใหม่เกี่ยวกับสุขอนามัย (4) ผู้ประกอบการควรหันมาให้ความสำคัญกับการบริหารจัดการต้นทุน ผลการวิจัยนี้ผู้ประกอบการร้านอาหารสามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการปรับตัวเพื่อความอยู่รอดในการดำเนินธุรกิจได้
References
กฤษฎา เสกตระกูล. (2563). โลกหลังวิกฤติ Covid-19. สืบค้นเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2564
จาก https://www.set.or.th/dat/ vdoArticle/attachFile/AttachFile_1588840987372.pdf
ชาย โพธิสิตา. (2550). ศาสตร์และศิลป์แห่งการวิจัยเชิงคุณภาพ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน).
ธนา เธียรอัจฉริยะ. (2564). “โรบินฮู้ด” ฟู้ดเดลิเวอรี ปักหมุดพื้นที่ยุทธศาสตร์ใหม่รับเทรนด์
เติบโต ส่งแคมเปญ “ฝั่งธน จะไม่ทนหิว” เอาใจชาวฝั่งธนบุรี. สืบค้นเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2564 จาก https://positioningmag.com/1322166
นนทิตา เปรมแปลก และอริสสา สะอาดนัก. (2564). กลยุทธ์การปรับตัวในช่วงการแพร่ระบาดโควิด-19 ของธุรกิจ คาเฟ่สัตว์เลี้ยง กรณีศึกษา ธุรกิจร้านอินุคาเฟ่ ในอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. วารสารวิชาการมนุษย์และสังคม คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ 5(1), 116-132.
ปราณ สุวรรณนาท. (2564). โควิด-19 ระบาดรอบนี้ ธุรกิจร้านอาหารวิกฤตหนัก มูลค่าความเสียหายสูงสุด 2.5 แสนล้านบาท. สืบค้นเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2564 จาก https://brandinside.asia/ krungthai-compass-thai-restaurants/
ปราณิดา ศยามานนท์. (2563). ส่องธุรกิจค้าปลีก…รับมืออย่างไรจาก Covid-19. เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2564. จาก https://www.scbeic.com/th/detail/file/product/6735/fm2bmn80yp/ EIC-Note_ Retail-industry-2020_31032020.pdf
ศรุตานนท์ ชอบประดิษฐ์. (2563). วิกฤตโควิด 19 ส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคมอย่างไร. วารสารชัยภูมิปริทรรศน์, 3(2), 1-14.
ศุภริน เจริญพานิช. (2564). บทวิเคราะห์ธุรกิจ SMEs (Quick Study) สาขาธุรกิจร้านอาหาร. สืบค้นเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2564 จาก ttps://www.sme.go.th/upload/mod_download/download-20210909160132.pdf
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2563). การปรับตัวของธุรกิจร้านอาหารเข้าสู่มาตรฐานใหม่. สืบค้นเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2564 จาก https://kasikornresearch.com/th/analysis/k-econ/business/ Pages/z3105.aspx
สุพัตรา รุ่งรัตน์ ซูลฟีกอร์ มาโซ และยุทธนา กาเด็ม. (2563). ผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมจากสถานการณ์โควิด-19 ของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองยะลา จังหวัดยะลา. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 6(2), 160-174.
สุภาวดี ธงภักดิ์ และและสันติธร ภูริภักดี. (2564). แนวทางการปรับเปลี่ยนและพัฒนาการบริการของร้านอาหารที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม “ร้านอาหารยามเย็น กรุงเทพมหานคร” ภายใต้สถานการณ์การแพร่รระบาดของเชื้อไวรัสโควิด 19. วารสารศิลปศาสตร์และอุตสาหกรรมบริการ, 4(2), 761-772.
เอื้อมพร หลินเจริญ. (2558). การวิเคราะห์และนำเสนอผลในงานวิจัยเชิงคุณภาพ. สืบค้นเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2564 จาก http://edu.tsu.ac.th/major/eva/index.php?option=com_content& view=article&id=131:2015-05-18-06-45-02&catid=44:2010-09-25-04-58-28&Itemid=72
Brand Buffet. (2563). 6 กลยุทธ์ “ธุรกิจร้านอาหาร” พิชิตวิกฤติ COVID-19. สืบค้นเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2564 จาก https://www.brandbuffet.in.th/2020/04/line-6-strategies-of-food-business/
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 มจร การพัฒนาสังคม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.