ปัจจัยที่ส่งผลต่อความพร้อมในการพัฒนา Digital Park Thailand เพื่อเข้าสู่การเป็นศูนย์กลางแลกเปลี่ยนข้อมูลดิจิทัลในภูมิภาคอาเซียน (ASEAN Digital Hub) ของบริษัทโทรคมนาคมแห่งชาติ จำกัด (มหาชน)
คำสำคัญ:
สมรรถนะ, การพัฒนา, สื่อสังคม, ระบบเทคโนโลยี, เทคโนโลยีดิจิทัลบทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สมรรถนะผู้บริหาร ขึ้นอยู่กับการพัฒนาบุคลากร
ที่ส่งผลต่อ ความพร้อมในการพัฒนา Digital Park Thailand 2) การพัฒนาบุคลากร ขึ้นอยู่กับสื่อสังคม และระบบเทคโนโลยีดิจิทัลยุคใหม่ ที่ส่งผลต่อความพร้อมในการพัฒนา Digital Park Thailand 3) สื่อสังคม
ที่ส่งผลต่อความพร้อมในการพัฒนา Digital Park Thailand 4) ระบบเทคโนโลยีดิจิทัลยุคใหม่ ที่ส่งผลต่อความพร้อมในการพัฒนา Digital Park Thailand เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ของบริษัท โทรคมนาคมแห่งชาติ จำกัด (มหาชน) ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการพัฒนา Digital Park Thailand จำนวน 400 คน เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม และการสัมภาษณ์เชิงลึก และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา แบบจำลองสมการโครงสร้าง และจำแนกข้อมูลแล้วทำการเปรียบเทียบข้อมูล และสร้างข้อสรุปแบบอุปนัย ผลการวิจัย พบว่า สมรรถนะผู้บริหารมีผลเชิงบวกต่อการพัฒนาบุคลากร การพัฒนาบุคลากร มีผลเชิงบวกต่อสื่อสังคม และระบบเทคโนโลยีดิจิทัลยุคใหม่ และส่งผลเชิงบวกต่อความพร้อมในการพัฒนา Digital Park Thailand สื่อสังคมส่งผลเชิงบวกต่อการพัฒนา Digital Park Thailand และระบบเทคโนโลยีดิจิทัลยุคใหม่ ส่งผลเชิงบวกต่อการพัฒนา Digital Park Thailand
References
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2559). แผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. กรุงเทพมหานคร : กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
กฤษกร ดวงสว่าง. (2558). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อความสำเร็จของบริษัท ปตท.จำกัด (มหาชน). ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต. มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ, กรุงเทพมหานคร.
จอมพงศ์ มงคลวนิช. (2556). การบริหารองค์การและบุคลากรทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชลธิชา สิทธิวงศ์. (2559). ปัจจัยที่มีผลต่อความพร้อมในการแข่งขันขององค์กรรัฐวิสาหกิจไทย ในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
ทัตธนันท์ พุ่มนุช. (2553). การศึกษาพฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคม (Social Network) เพื่อพัฒนาในการปฏิบัติงานของบุคลากรทางการศึกษาในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม. Veridian E-Journal. 5(1), 523-540.
ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์. (2551). การจัดการทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพมหานคร : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์ และฉัตยาพร เสมอใจ. (2551). การจัดการ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
บวรนันท์ ทองกัลยา. (2559). การศึกษาระดับความพร้อมในการเปลี่ยนแปลงเพื่อการเป็นองค์กรที่มีสมรรถภาพสูง กรณีศึกษาบริษัทในธุรกิจอ้อยและน้ำตาลประเทศไทย, สปป.ลาว และจีน ของกลุ่มน้ำตาลมิตรผล. ดุษฎีนิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต. มหาวิทยาลัยบูรพา.
ไพโรจน์ ปิยะวงศ์วัฒนา. (2555). การจัดการเชิงกลยุทธ์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม. กรุงเทพมหานคร : วี.พริ้นท์.
ภิราช รัตนันต์. (2560). การจัดการทรัพยากรมนุษย์. นครสวรรค์ : คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
วรุตม์ บุญมากมี. (2558). การเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนของพนักงานรัฐวิสาหกิจ : กรณีศึกษา สำนักงานกลางการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย จังหวัดนนทบุรี. การค้นคว้าอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
วิทยา ด่านธำรงกูล. (2556). การบริหารเพื่อความสำเร็จ. กรุงเทพมหานคร : เธิร์ดเวฟ เอ็ดดูเคชั่นจำกัด.
ศศิธร ติณะมาศ. (2555). การบริหารจัดการทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัลอันเป็นลิขสิทธิ์ของสถาบันอุดมศึกษาของไทย. ดุษฎีนิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สกล บุญสิน. (2560). การจัดการทรัพยากรมนุษย์. เชียงใหม่ : ศูนย์บริหารงานวิจัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สาคร สุขศรีวงศ์. (2556). การจัดการ : จากมุมมองนักบริหาร. กรุงเทพมหานคร : ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). สรุปสาระสำคัญแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่สิบสอง พ.ศ. 2560-2564. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี.
สิวารี ศรีวิโรจน์. (2558). ปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการพัฒนาศักยภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรประจำเรือขนส่งน้ำมัน : กรณีศึกษา บริษัท A. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร.
สุธาเนศ เพชรโปรี. (2554). ทัศนคติด้านการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อการบริหารการศึกษาโดยการสื่อสารยุคใหม่ กรณีศึกษา ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย, พระนครศรีอยุธยา.
สุรศักดิ์ ปาเฮ. (2556). “การพัฒนาสมรรถนะครูในศตวรรษที่ 21”. การอบรมสัมมนาครู และบุคลากรทางการศึกษา ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1-2 หลักสูตรการพัฒนาครูโดยการสร้างระบบพี่เลี้ยง. แพร่ : สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เขต 2.
สุรัชพงศ์ สิกขาบัณฑิต. (2561). นโยบายประเทศไทย 4.0 : โอกาส อุปสรรคและผลประโยชน์ของไทยในภูมิภาคอาเซียน.เข้าถึงได้จากwww.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parliament_parcy/.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 มจร การพัฒนาสังคม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.