การศึกษาระบบวิศวกรรมการป้องกันและระงับอัคคีภัยขององค์กรธุรกิจในสังคมไทย

ผู้แต่ง

  • ณ.พงษ์ สุขสงวน -
  • พระสุธีรัตนบัณฑิต
  • โกนิฏฐ์ ศรีทอง
  • วสันต์ ลิ่มรัตนภัทรกุล

คำสำคัญ:

Fire Prevention and Suppression Engineering Systems, Business Organizations, Thai Society

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อการศึกษาระบบวิศวกรรมการป้องกันและระงับอัคคีภัยขององค์กรธุรกิจในสังคมไทย ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ แบ่งออก 2 กลุ่ม กลุ่มที่หนึ่ง ประชาชนพักอาศัยแถวจังหวัดปทุมธานีแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 30 คน และกลุ่มที่สอง จำนวน 3 กลุ่ม รวมทั้งสิ้น 9 คน โดยใช้เครื่องมือวิจัย 3 แบบ ประกอบด้วย แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา

ผลการศึกษาพบว่า 1) ระบบวิศวกรรมป้องกันและระงับอัคคีภัยขององค์กรธุรกิจในสังคมไทย คือ ระบบที่ถูกกำหนดกฎหมาย มาตรฐาน เป็นภาคบังคับมากกว่าที่จะเป็นในเรื่องมาตรฐาน กฎหมายและมาตรการไม่ได้จากอ้างอิงมาตรฐานจากผู้เชี่ยวชาญระบบวิศวกรรมป้องกันและระงับอัคคีภัยอย่างเพียงพอ ออกกฎหมายและมาตรการภาพแบบกว้างและไม่มีรายละเอียดอย่างชัดเจนทำให้เกิดเหตุการณ์จริงต้องตีความอีกรอบ สภาพปัญหาอุปสรรคเกิดจากกระบวนการความคิดในสังคมไทยว่าระบบวิศวกรรมการป้องกันและระงับอัคคีภัยมีความสำคัญต่อการใช้ชีวิตประจำ มีทั้งความรู้ที่ดี การบังคับใช้กฎหมายที่มีอยู่ให้เป็นประโยชน์ แต่ไม่มีปฏิบัติติอย่างจริง และ 2) การศึกษาสภาพปัญหาปัจจุบัน ความต้องการและช่องว่างระบบวิศวกรรมการป้องกันและระงับอัคคีภัยขององค์กรธุรกิจในสังคมไทยโดยรวมมีค่าเฉลี่ยในระดับมาก กับ ความต้องการต่อระบบวิศวกรรมการป้องกันและระงับอัคคีภัยขององค์กรธุรกิจในสังคมไทยโดยรวมมีค่าเฉลี่ยในระดับมาก

References

กมลฉัตร กล่อมอิ่ม. (2562). การพัฒนาหลักสูตรสะเต็มศึกษา. เพชรบูรณ์ : กลุ่มมาตรฐานวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์.

กรมป้องกันบรรเทาสาธารณภัย. (2554). คู่มือแนวทางปฏิบัติงานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์อาสารักษาดินแดน.

ชัยกฤต ยกพลชนชัย. (2564). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมความปลอดภัยในการป้องกันการเกิดเพลิงไหม้ในครัวเรือนบ้านบก อำเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี. วารสารศูนย์อนามัยที่ 9 15 (38) : 416.

ทิศนา แขมมณี. (2562). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เนธา ทองธรรมชาติ.(2557). คู่มือในการปฏิบัติงานภาคสนามของงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรณีการเกิดอัคคีภัย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี. 8(17). 45-54.

ประพนธ์ ตั้งมโนเทียนชัย.(2561). การจัดการงานตรวจและทดสอบระบบดับเพลิงและป้องกันอัคคีภัยอาคารขนาดใหญ่พิเศษ. สาระศาสตร์. ฉบับที่ 4/2561.

พีระยุทธ สุขสวัสดิ์ และชมภูนุช หุ่นนาค. (2564). แนวทางการขับเคลื่อนกลไกประชารัฐในการจัดการอัคคีภัยของจังหวัดนนทบุรี. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์). 10(2). 31-42.

ฝ่ายวิชาการสูตรไพศาล. (2556). ฎีกาควบคุมอาคาร พ.ศ.2522 ถึงปัจจุบันเรียงมาตรา. กรุงเทพฯ: สูตรไพศาล.

มนต์ชัย พินิจจิตรสมุทร. (2553). Dialogue: สุนทรียสนทนาฉบับนักปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : จงเจริญเทพารักษ์การพิมพ์.

สนอง แก่นแก้ว. (2562). แบบคำฟ้องคดีอาญา (ฉบับพิเศษ). กรุงเทพฯ: พิมพ์อักษร.

สุกฤตาณัท รุ่งธนธนา. (2564). มาตรการด้านการป้องกันและระงับอัคคีภัยของพนักงานองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครปฐม. วารสารวิจัยวิชาการ. 4(2). 135-142.

สำนักงานศาลยุติธรรม. (2538). หนังสือสำนักงานศาลยุติธรรม ที่ ศย 004/ว 69 (ป). ลงวันที่ 30 กันยายน 2558.

สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย. (2554). ก้าวย่างต่อไปของ กศน. กรุงเทพฯ : ชุมพร พรินท์ แอนด์ ดีไซน์.

อาภรณ์ ภู่วิทยพันธุ์. (2558). การประเมิณผลการฝึกอบรมบนพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : เอช อาร์ เซ็นเตอร์.

Carroll, L. (2020). Curriculum development in nursing education. Burlington, MA : Jones and Bartlett.

Dworkin, S. L. (2012). Sample size policy for qualitative studies using in-depth interviews. Archives of Sexual Behavior. 41(6). 1319-1320.

Fusch, P. I., & Ness, L. R. (2015). Are We There Yet? Data Saturation in Qualitative Research. The Qualitative Report. 20(9). 1408-1416.

Guest, G., Bunce, A., & Johnson, L. (2006). How many interviews are enough? An experiment with Data Saturation and variability. Field Methods. 18(1). 59-82.

Lashley, Conrad. (2001). Empowerment HR Strategies for Service Excellence. Oxford ; Boston :Butterworth – Heinemann.

McKeen, James D.; & Smith, Heather A. (2003). Making IT Happen : Critical Issues in IT Management. Ontario: Wiley.

Onwuegbuzie, A. J., & Leech, N. L. (2007). A Call for Qualitative Power Analyses. Quality and Quantity, 41. 105-121.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-31