เศรษฐศาสตร์การศึกษา: มิติความเหลื่อมล้ำที่ซ่อนตัวอยู่ภายใต้โครงสร้างการศึกษาไทย
คำสำคัญ:
เศรษฐศาสตร์การศึกษา, ความเหลื่อมล้ำ, ปัญหาในเชิงโครงสร้างบทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้ต้องการเผยให้เห็นถึงปัญหาความเหลื่อมล้ำที่เกิดขึ้นในการจัดการศึกษาที่เกิดจากโครงสร้าง โดยใช้เศรษฐศาสตร์การศึกษาในการฉายภาพให้เห็นตัวบ่งชี้ความเหลื่อมล้ำในการศึกษา เช่นโรงเรียนพระปริยัติธรรม โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ โดยผู้เขียนได้เปรียบเทียบกับโรงเรียนนานาชาติที่จัดการเรียนการสอน ค่าใช้จ่ายแตกต่างจากโรงเรียนที่กล่าวมาข้างต้น ฉะนั้นแล้วตัวบ่งชี้นึงที่เห็นได้ชัดกับค่านิยมการส่งลูกเข้าเรียนในระดับประถมหรือระดับมหาวิทยาลัยสิ่งหนึ่งที่เด่นชัดได้ที่สุดคือการติวเพราะการติวส่งผลมาด้วยกับค่าใช้จ่ายที่บิดามารดาที่จะต้องแบกรับ คณะผู้เขียนได้เปรียบเทียบข้อมูลอันดับมหาวิทยาลัยในประเทศไทยและอันดับมหาวิทยาลัยในโลก มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียงเหล่านี้บวกมาด้วยกับค่าใช้จ่ายที่ผู้ปกครองจะต้องแบกรับ และความเป็นชายขอบทางการศึกษาเพราะความเป็นชายขอบไม่ได้เกิดขึ้นโดด ๆ เกิดจากการกระทำขึ้นแล้วทั้งสิ้นและนำปรากฏการณ์ที่อยู่ในโลกออนไลน์มาเปรียบเทียบกับการบริหารจัดการของภาครัฐที่ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจและสังคม ปัจจัยต่าง ๆ เหล่านี้ล้วนทำให้เกิดความเหลื่อมล้ำเกิดขึ้น คณะผู้เขียนยังได้ฉายภาพให้เห็นถึงการเมืองและความเป็นการเมืองที่สัมพันธ์กับการจัดการนโยบายการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ อีกมากมาย ผนวกกับการรวมศูนย์อำนาจ ระบบอำนาจนิยม ความเป็นผู้ใหญ่ผู้น้อยในสังคมการศึกษา งานชิ้นนี้ต้องการเผยให้เห็นถึงความรุนแรงในเชิงโครงสร้างของระบบการศึกษาไทย
References
กรุงเทพธุรกิจ. (2565). ผ่าร่างงบฯ ปี 66 วงเงิน 3.18 ล้านล้าน หน่วยงานไหนได้มากที่สุด เช็คที่นี่!. (ออนไลน์). แหล่งที่มา:
https://www.bangkokbiznews.com/politics/1002580
กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสค). (2564). ยากจน ลำบาก หลุดจากระบบการศึกษา. (ออนไลน์). แหล่งที่มา: https://www.eef.or.th/infographic-06-09-21/
งานข้อมูลสารสนเทศ กลุ่มแผนและงบประมาณ สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ. ประเภทโรงเรียนการศึกษาสงเคราะห์. (ออนไลน์). แหล่งที่มา: http://www.specialset.bopp.go.th/set_index/index.php
ไฉ่เตี๋ย จาง นงเยาว เนาวรัตน์ เจี้วน หลู. (2565). การพัฒนาความเท่าเทียมทางการศึกษาในประเทศจีน. วารสารมหาวิทยาลัยพายัพ, 32(1), 148-161
ชาคริต แก้วทันคำ. (2561). ภาพสะท้อนความเป็นอื่นของคนชายขอบในรวมเรื่องสั้น “บังไพรแห่งซับจำปาและเรื่องอื่น ๆ”. วิวิธวรรณสาร, 2(1), 111-128
ฐานเศรษฐกิจ. (2565). ผ่างบประมาณ "กระทรวงศึกษาธิการ" ใช้อะไรในปี 2566 ถึงได้สูงสุด 3.25 แสนล้าน. (ออนไลน์). แหล่งที่มา: https://www.thansettakij.com/insights/517964
เดนพงษ แสนคํา, อัครยา สังขจันทร์. (2565). บทวิเคราะห์วิกฤตการณการศึกษาไทยภายใตทฤษฎีของ
คารล มาร์กซ์. วารสารการบริหารทองถิ่น, 12(2), 305-321
ทรงธรรม ปิ่นโต, จริยา เปรมศิลป์ และคณะ. (2555). เศรษฐศาสตร์…เล่มเดียวอยู่. กรุงเทพฯ ธนาคารแห่งประเทศไทย, 75-79
ไทยโพสต์. (2561). ผู้ปกครองส่วนใหญ่เน้น 'ชื่อเสียงโรงเรียน' ส่งลูกสอบเข้าเรียน. (ออนไลน์). แหล่งที่มา: https://www.thaipost.net/main/detail/6427
บริษัท ออลเทนมาร์เก็ต จำกัด (2020). รีวิว 10 โรงเรียนนานาชาติ อินเตอร์ ที่ดีที่สุด ในไทย. (ออนไลน์). แหล่งที่มา: https://thtop10.com
ประชาไท. (2018). โพลระบุพ่อแม่ยุคใหม่ 66.8% เชื่อส่งลูกเรียนพิเศษมีความจำเป็นมาก. (ออนไลน์). แหล่งที่มา: https://prachatai.com/journal/2018/05/76863
ปริตตา เฉลิมเผ่า กออนันตกูล, บรรณาธิการ. (2545). ชีวิตชายขอบ: ตัวตนกับความหมาย: กรณีศึกษา เกย์ หญิงรักหญิง คนชรา คนเก็บขยะ วัยรุ่น เด็กข้างถนน. กรุงเทพฯ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, 14-33
พิภัทร์อนันต์ เทพพิทักษ์, ชญาพิมพ์ อุสาโห, นิพัชชา โรจน์รัตนวาณิชย์, อภิรดี จริยารังสีโรจน์. (2565). เศรษฐศาสตร์การศึกษา: บทเรียนในอดีตที่ผู้บริหารธุรกิจการศึกษา ควรตระหนักสู่การก้าวเป็นธุรกิจการศึกษาที่มั่นคง. วารสารวิชาการครุศาสตร์สวนสุนันทา, 6(2), 2565 1-13
ภาวิณี คงฤทธิ์. (2021). ทำความรู้จัก ‘โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญ’ โอกาสทางการศึกษาใต้ร่มกาสาวพัสตร์. (ออนไลน์). แหล่งที่มา: https://www.the101.world/phra-pariyatti-dhamma-general-education-schools/
รักษิต สุทธิพงษ์. (2559). เศรษฐศาสตร์การศึกษากับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาไทย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา, 4(2), 2-15
รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์. (2519). เศรษฐศาสตร์การคลังว่าด้วยการศึกษา. สมาคมเศรษฐศาสตร์ธรรมศาสตร์ตีพิมพ์เนื่องในโอกาสที่ ศาสตราจารย์ ดร. ป๋วย อึ้งภากรณ์ มีอายุครบ 60 ปี 157-158
รัชวดี แสงมหะหมัด. (2560). ความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา: คุณภาพสังคมที่คนไทยมองเห็น. วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์, 8(1), 33-66
โรงเรียนการกุศลของวัดในพระพุทธศาสนา (ออนไลน์). แหล่งที่มา: https://th.wikipedia.org
วิมลสิริ ชาญสมา เกียรติศักดิ์ เอมอยู นรวัฒน์ ขวนขวาย ธนกฤต ตังประดิษฐกุล ธนัสถา โรจนตระกูล. (2565). มุมมองปญหา ความเหลื่อมล้ำในสังคมไทยและสิทธิมนุษยชน. วารสารการบริหารนิติบุคคลและนวัตกรรมท้องถิ่น, 8(8), 365-374
วีรวัฒน์ อัจจุตมานัส. (2022). การศึกษา: มีลูกน้อย แต่จ่ายเงินมากให้อนาคตลูก แผนการของ 4 คุณแม่. (ออนไลน์). แหล่งที่มา: https://www.bbc.com/thai/thailand-60653471
ศุภรา มณีรัตน์. (2548). โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์: พื้นที่สร้างความเป็น “พลเมืองไทย” ในกลุ่มคนชายขอบ กรณีศึกษาโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์พนมทวนจังหวัดกาญจนบุรี. หลักสูตรสังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต (มานุษยวิทยา) คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาม หาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ (สำนักงาน กปร.).โครงการโรงเรียนราชประชานุเคราะห์. (ออนไลน์). แหล่งที่มา: http://km.rdpb.go.th/Project/View/8714
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ, แผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2560-2579 อ้างในพระมหาอุดร อุตฺตโร (มากดี). (2565). พุทธวิธีการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 28
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2559). ปฏิรูปการศึกษาเพื่ออนาคตประเทศไทย มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน นโยบายด้านการศึกษาของนายกรัฐมนตรี (พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา). 21 เซ็นจูรี่ จำกัด กรุงเทพฯ, 29-31
สุปรียา ควรเดชะคุปต์. (2529). เศรษฐศาสตร์การศึกษา (ศศ.488): เอกสารคำสอน. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์. 78-83
สุมิตรา ศรีวิบูลย์, พรรณี วิรุณานนท์. (2013). การพึ่งตนเองเพื่อต่อสู้ความยากจน. วารสารวิจัยสังคม, 36(1), 49-74
อมรินทร์ เทเลวิชั่น. (2565). เปิด 10 อันดับมหาลัยไทย 2022 และมหาวิทยาลัยดีที่สุดในโลก. (ออนไลน์). แหล่งที่มา: https://www.amarintv.com/news/detail/131236
อรอนงค์ ทวีปรีดา. (2559). การกระจายและความเท่าเทียมของโอกาสทางการศึกษาและบทบาทการใช้จ่ายของภาครัฐ. หลักสูตรเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
อัญชิรญา จันทรปิฎก. (2562). ภาพลวงทางการคลัง: บทวิเคราะห์ผลกระทบจากการดำเนินนโยบายประชานิยม. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร (Silpakorn University Journal), 39(1), 1-17
อานันท์ กาญจนพันธุ์ (บรรณาธิการ). (2547). ตัวตนของคนชายขอบ. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว), 2
AMARINTV: อมรินทร์ทีวี. (2022). ดราม่า! หนุ่มช่วยเด็ก 13 ตัดปาล์ม บ้านจนไร้เงินเรียน ท้อเจอขู่ใช้แรงงานเด็ก. (ออนไลน์). แหล่งที่มา: https://www.youtube.com/watch?v=UK5H68VeB0c
CH7HD News. (2022). เด็กชาย 13 ปี ตัดปาล์มหารายได้ เจ้าหน้าที่ชี้ ผิดกฎหมาย เบื้องหลังข่าว กับ กาย สวิตต์. (ออนไลน์). แหล่งที่มา: https://www.youtube.com/watch?v=4heOO2Tz63o
ThaiPublica. (2021). งบการศึกษา 8 แสนล้าน (ตอน 1) : รายจ่ายสูง ตกหล่น-ใช้เงินไม่ตรงจุด!!!. (ออนไลน์). แหล่งที่มา: https://thaipublica.org/2021/02/national-education-accounts01/
Thanadon Phuthanasiri. (2564). ชุดนักเรียน: เครื่องมืออำพรางความเหลื่อมล้ำของสังคมไทย. วารสารรัฐศาสตร์สาร, 42(3), 1-24
Elizabeth Hallam and Brian V.Street, 2000. "Introduction Cultural Encounters-representing "otherness" in Hallam and Street (ed.) 2000. Cultural Encounters. Routledge : London. pp. 1-2.
Norcross, P.1996. "Derrida, Jacques" in Payne, M. (ed.) 1996, A Dictionary of Critical and Critical Theory. Blackwell, Cambridge, MA. p.141.
Ungsuchaval, T. (2019). How Can We Study Depoliticisation (and Politicisation)? A Theoretical Review on Contemporary Conceptual Framework. Journal of Social Sciences Naresuan University, 13(2), 135–160.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 มจร การพัฒนาสังคม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.