โมเดลสมการโครงสร้างพุทธานุสสติในการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามแนวพุทธจิตวิทยา

ผู้แต่ง

  • ณภิตา พุทธรักษา -
  • สิริวัฒน์ ศรีเครือดง
  • วิชชุดา ฐิติโชติรัตนา

คำสำคัญ:

โมเดลสมการโครงสร้าง, พุทธานุสสติ, การพัฒนาคุณภาพชีวิต, พุทธจิตวิทยา

บทคัดย่อ

โมเดลสมการโครงสร้างพุทธานุสสติในการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามแนวพุทธจิตวิทยา    คือ  การพัฒนาสติอย่างมีระบบในการปฏิบัติกรรมฐาน  ด้วยการระลึกถึงพระคุณของพระพุทธเจ้าเป็นอารมณ์ มีวิปัสสนาจารย์ผู้เป็นพหูสูต  รู้จริตของผู้ปฏิบัติเป็นพื้นฐาน   ทำให้การเจริญกรรมฐานที่ตรงกับจริตของผู้ปฏิบัติเกิดการพัฒนาของสติ     มีวิจารณญาณในการสร้างความสมดุลของความเพียร และเกิดสมาธิในการใช้ชีวิตประจำวัน   ความต่อเนื่องของการพัฒนาสี่ด้าน   ก่อเกิดศรัทธาศรัทธาจากความสำเร็จตามลำดับขั้นของการใช้ชีวิต สู่ดวงปัญญาของผู้ตื่นรู้และเบิกบาน สามารถพิจารณาเหตุปัจจัยได้อย่างถูกต้อง   และ   มีเป้าหมายในการใช้ชีวิตสอดคล้องตามคำสอนในพระพุทธศาสนา คือ รู้ประโยชน์ปัจจุบัน ประโยชน์เบื้องหน้า และ ประโยชน์สูงสุดของการเกิดเป็นมนุษย์ด้วยวิถีแห่งการหลุดพ้นด้วยการพัฒนาสุขภาพจิตและคุณภาพชีวิตที่ดี

           ผลการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างพุทธานุสสติในการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามแนวพุทธจิตวิทยาสอด

คล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และผลการตรวจสอบความตรงของโมเดลที่พัฒนาขึ้น มีค่า c2 = 65.69, df = 49,

c2/df = 1.34, P = .056, GFI = 0.979, AGFI = 0.95, RMR = 0.020, RMSEA = 0.029  ทุกตัวแปรในโมเดล

ร่วมกันอธิบายตัวแปรคุณภาพชีวิตได้ร้อยละ 76.60

References

โคลเบอร์ก (Kohlberg),(1999) พัฒนาการทางจริยธรรมของบุคคล, cited in Smith & Ragan, p.54.

เดอพอย และกิลสัน (DePoy & Gilson),(2012) พีระมิดลำดับ 8 ชั้นของความต้องการ (Maslow’s Hierarchy of Needs pyramid), , หน้า 121-122.

ประณีต ก้องสมุทร,(2545) เป็นมนุษย์นี่แสนยาก หมวดธรรมะ, [ออนไลน์] แหล่งที่มา: https://84000.qrg./tipitaka/book/bookpn03.html,

มนุสสภูมิ(นามปากกา),(2558)ประเภทของมนุษย์, ความรู้พระพุทธศาสนาเพื่อการพัฒนาตนเอง GL102 ปรโลกวิทยา, ปุคคลสูตร, สังยุตตนิกาย สคาถวรรค, มก. เล่ม 24 ข้อ 394-397 หน้า 502-505.

[ออนไลน์] แหล่งที่มา: https://kalyanamitra.org/th/article_detail.php?i=8464.

พระครูวิลาศกาญจนธรรม, ดร.(2558) เทศน์ช่วงทำกรรมฐาน ณ บ้านวิริยบารมี(ถอดเทป).

พระครูวิลาศกาญจนธรรม, ดร. เจ้าอาวาสวัดท่าขนุน,(18 เมษายน 2565) รักษาการรองผู้อำนวยการฝ่ายบริหาร กรรมการมหาวิทยาลัยศรีไพบูลย์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,สัมภาษณ์.

พระไตรปิฏกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม 29-9 หน้า 415.

[ออนไลน์] แหล่งที่มา:https://tripitakaonline.blogspot.com/2016/07/tpd29-09.html.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต),(2563) ความสุขที่แท้จริง ความสุข 10 ขั้น ความสุขที่ประณีต สุขเหนือเวทนา ความสุขที่แท้จริง, พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย.

[ออนไลน์] แหล่งที่มา: https://www.nirvanattain.com/สิ่งที่ควรเป็น/ความสุขที่แท้จริง.html.

พระพุทธโฆสเถระ,(2547) คัมภีร์วิสุทธิมรรค, แปลและเรียบเรียงโดย สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหา

เถร) (กรุงเทพมหานคร: ประยูรวงศ์พริ้นท์ติ้ง จำกัด), 163.

ภัทรวรรณ วันทนชัยสุข, พุทธคุณ 9 ประการ ความรู้เกี่ยวกับพระพุทธเจ้า.

[ออนไลน์] แหล่งที่มา: http://www.dhammathai.org/buddha/g62.php

ลำพอง กลมกูล,(2564) คู่มือการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง SEM ด้วยโปรแกรม LISREL, ส่วนงานวิจัยสารสารสนเทศ ศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 2564.

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต),(2546) หลักทั่วไปของพุทธศาสตร์ และ ฉบับประมวลศัพท์.

อิริคสัน (Ericson),(1999) พัฒนาการทางบุคลิกภาพของบุคคล, cited in Smith & Ragan, p.53.

เอ็ดเวิร์ด ลี ธอร์นไดค์ (Edward Lee Thorndike),(1898) ทฤษฏีการเชื่อมโยง Connectionism Theory.

Lukoff, David และLu, (2548) Francis Transpersonal-Integrative Approach to Spiritual

Oriented Psychotherapy ใน L. Sperry และ EP Shafranske, Spiritual Oriented Psychotherapy, American Psychological Association.

Abraham H. Maslow. (1970).Motivation and Personality. New York: Harper and Row Publisher.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-28