ผู้หญิงกับประสบการณ์การเปลี่ยนผ่านความรุนแรงในครอบครัว
คำสำคัญ:
ผู้หญิง, การเปลี่ยนผ่าน, ความรุนแรงในครอบครัวบทคัดย่อ
การวิจัยเรื่อง “ผู้หญิงกับประสบการณ์การเปลี่ยนผ่านความรุนแรงในครอบครัว” มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายประสบการณ์ของผู้หญิงที่เคยมีชีวิตอยู่ในวงจรความรุนแรงในครอบครัวและเปลี่ยนผ่านออกจากวงจรความรุนแรงในครอบครัวได้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีแนวคำถามแบบกึ่งโครงสร้างเป็นเครื่องมือการวิจัย ผู้วิจัยสัมภาษณ์ผู้ร่วมวิจัยด้วยตนเอง และผู้ร่วมวิจัยเป็นผู้หญิงที่เคยมีชีวิตอยู่ในวงจรความรุนแรงในครอบครัว จำนวน 8 ราย ผลการวิจัยพบว่า ผู้หญิงเปลี่ยนผ่านตนเองออกจากความรุนแรงในครอบครัว เป็นผลลัพธ์มาจากกระบวนการตัดสินใจของผู้หญิงผ่านเงื่อนไขส่วนบุคคล ชุมชน และสังคม และการบริหารจัดการชีวิตจนสามารถเปลี่ยนผ่านตนเองออกจากปัญหาความรุนแรงในครอบครัวสู่การเริ่มต้นชีวิตใหม่ที่ปราศจากความรุนแรงได้ ข้อเสนอแนะในการวิจัย หากเริ่มมีความรุนแรงในครอบครัวจากสามี ผู้หญิงควรตระหนักรู้ว่าตนเองเริ่มก้าวเข้าสู่การมีชีวิตอยู่ในวงจรความรุนแรง และควรตัดสินใจเปลี่ยนผ่านเพื่อให้ตนเองออกจากความรุนแรงในครอบครัวให้ได้เร็วที่สุด เพราะความรุนแรงที่ได้รับจะเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ
References
กันยปริณ ทองสามสี และ อิสระ ทองสามสี. (2562). ผลของความรุนแรงในครอบครัวจากการดื่มสุรา: บทวิเคราะห์ข่าวหนังสือพิมพ์ระหว่างปี 2554-2558. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, 12(1): 3-9.
กิติพัฒน์ นนทปัทมะดุลย์. (2564). การวิจัยประวัติชีวิตในการสังคมสงเคราะห์และการพัฒนาสังคม.ปทุมธานี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
โครงการสุขภาพคนไทย. (2565). ครอบครัวไทยในวิกฤตโควิด 19, สุขภาพคนไทย 2565 (100-123). นครปฐม: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน).
ธีรวุฒิ นิลเพ็ชร และ กัญญ์ฐิตา ศรีภา. (2562). สภาพการณ์ความรุนแรงในครอบครัวและการพัฒนาบทบาทหน้าที่ของตำรวจในการรับมือปัญหาความรุนแรง: ศึกษาเฉพาะกรณีกองบังคับการตำรวจนครบาล 9. วารสารพยาบาลตำรวจ, 11(2): 326-338)
ปพิชญา สุนทรพิทักษ์. (2562). ประสบการณ์ของสตรีที่ผ่านพ้นปัญหาความรุนแรงในครอบครัว: กรณีศึกษามูลนิธิหญิงชายก้าวไกล. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]. คลังทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. https://digital.library.tu.ac.th/tu_dc/frontend/Info/item/dc:183570
ปพิชญา สุนทรพิทักษ์ และ กิติพัฒน์ นนทปัทมะดุลย์. (2563). ผู้หญิงกับประสบการณ์ความรุนแรงในครอบครัว กรณีศึกษามูลนิธิหญิงชายก้าวไกล. ใน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์, สังคมสงเคราะห์และสวัสดิการสังคม: การปลดล็อกความเหลื่อมล้ำสู่ความยั่งยืน (น.342-358). ผู้แต่ง.
รณชัย คงสกนธ์, นิฤมน รัตนรัต, และพวงทอง เครือมังกร. (2554). การศึกษาทัศนคติของเจ้าหน้าที่ของรัฐเกี่ยวกับการมีภรรยาน้อย. รามาธิบดีเวชสาร, 34(1): 29-38.
วัชรินทร์ ปัจเจกวิญญูสกุล, อุทัยวรรณ แจ่มสุธี, และ อำนาจ เนตรสุภา. (2546). การประเมินกระบวนการยุติธรรมในการคุ้มครองสวัสดิภาพบุคคลที่ได้รับความรุนแรงในครอบครัว. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.
ศิริปรียา ศิริสุนทร และ ธนัสถา โรจนตระกูล. (2564). การเสริมสร้างความเข็มแข็งของชุมชนในการป้องกันความรุนแรงในครอบครัว. Journal of Roi Kaensarn Academi, 6(10): 459-475.
สุชีรา มาไกวร์. (2560). ความรุนแรงในครอบครัวเรื่องส่วนตัวหรือปัญหาสังคม: ตอนที่ 1 เมียหลวงหมดอายุ.สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม 2565 จาก https://www.bbc.com/thai/thailand-38955861
สุสัณหา ยิ้มแย้ม และ รังสิยา นารินทร์. (2562). พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศและความรุนแรงในครอบครัวของสตรีอาข่า. พยาบาลสาร, 42(4): 146-155.
อภิญญา เวชยชัย. (2546). สภาวการณ์ของเด็ก เยาวชน และครอบครัวและข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อุมามน พวงทอง. (2551). ความรุนแรงในครอบครัวกับผลกระทบทางด้านจิตเวช. ใน รณชัย คงสกนธ์ และ นฤมล โพธิ์แจ่ม (บรรณาธิการ), ความรุนแรงในครอบครัว (96-100). กรุงเทพฯ: สหประชาพาณิชย์.
อเนก อะนันทวรรณ. (2562). ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยปทุมธานี, 11(1): 209-231.
อังคณา อินทสา. (2558). กระบวนการปรับพฤติกรรมที่นำไปสู่การแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว กรณีศึกษามูลนิธิหญิงชายก้าวไกล. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]. คลังทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
https://digital.library.tu.ac.th/tu_dc/frontend/Info/item/dc:90077
Brown, J. B., Lent, B., Schmidt, G., & Sas, G. (2000). Application of the Woman Abuse Screening Tool (WAST) and WAST-Short in the Family Practice Setting. Journal of Family Practice, 49(10): 896-903.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 มจร การพัฒนาสังคม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.