คดีวินัยทางการคลังที่ไม่อยู่ภายใต้ศาลปกครองแผนกคดีวินัยการคลังและการงบประมาณ
คำสำคัญ:
วินัยทางการคลัง, วินัยการคลังและการงบประมาณ, ศาลปกครองแผนกคดีวินัยการคลังและการงบประมาณบทคัดย่อ
ศาลปกครองเป็นหนึ่งในองค์กรที่มีบทบาทสำคัญในการรักษาวินัยทางการคลังของประเทศ ในฐานะองค์กรตุลาการที่มีอำนาจตรวจสอบว่าการกระทำของฝ่ายปกครองเป็นไปตามที่กฎหมายการคลังกำหนดหรือไม่ ในช่วงเวลาที่มีการปฏิรูปกฎหมายการคลังภายใต้กรอบที่กำหนดในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557 ศาลปกครองได้ประกาศจัดตั้งแผนกคดีวินัยการคลังและการงบประมาณในศาลปกครองสูงสุดและศาลปกครองชั้นต้นทั่วประเทศ เพื่อให้สอดคล้องกับแนวคิดในการรักษาวินัยทางการคลังที่ต้องการให้การดำเนินกระบวนพิจารณาคดีปกครองที่เกี่ยวกับการคลังเป็นไปโดยรวดเร็ว ทันต่อการแก้ไขเยียวยาความเดือดร้อนหรือเสียหายที่อาจเกิดขึ้น อย่างไรก็ตาม คดีปกครองที่เกี่ยวข้องกับวินัยทางการคลังไม่ได้ตกอยู่ภายใต้เขตอำนาจของศาลปกครองแผนกคดีวินัยการคลังและการงบประมาณไปเสียทุกคดี บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์ในการศึกษา วิเคราะห์ และตั้งข้อสังเกตถึงคดีปกครองที่เกี่ยวข้องกับวินัยทางการคลังที่ไม่ตกอยู่ภายใต้แผนกดังกล่าวของศาลปกครองผ่านกฎหมายและแนวคำพิพากษาของศาลปกครองที่เกี่ยวข้อง
References
ชาญชัย แสวงศักดิ์. (2562). กฎหมายเกี่ยวกับวินัยการเงินการคลังของรัฐ : วิธีการงบประมาณและการตรวจเงินแผ่นดิน. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร : วิญญูชน.
นิยม รัฐอมฤต และอุดม รัฐอมฤต. (2562). องค์กรอิสระกับการสร้างความสมดุลในระบบการเมือง. วารสาร สถาบันพระปกเกล้า, 17 (2).
ปิยบุตร แสงกนกกุล. (2556). กฎหมายปกครองของประเทศในยุโรป. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร : โครงการตำราและเอกสารประกอบการสอน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สุทธิ สุนทรานุรักษ์. (2565). องค์กรตรวจเงินแผ่นดินกับการสนับสนุนเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน. สืบค้นวันที่ 1 พฤศจิกายน 2565, จาก https://thaipublica.org/2019/06/sutti-10/
สุปรียา แก้วละเอียด. (2563). กฎหมายการคลัง : ภาคงบประมาณแผ่นดิน. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร : วิญญูชน.
อรพิน ผลสุวรรณ์ สบายรูป. (2557). กฎหมายการคลัง. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : โครงการตำราและเอกสารประกอบการสอน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
เอื้ออารีย์ อึ้งจะนิล. (2558). หลักกฎหมายการคลัง. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร : วิญญูชน.
อานันท์ กระบวนศรี. (2565). การรักษา “วินัยการคลังและการงบประมาณ” โดยองค์กรที่ทำหน้าที่ควบคุม ตรวจสอบจากภายนอก : ศาลวินัยทางงบประมาณและการคลังของประเทศฝรั่งเศส (la Cour de discipline budgétaire et financière) และคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินของประเทศไทย. วารสารวิชาการศาลปกครอง, 22 (3).
อานันท์ กระบวนศรี (2565). บทบาทของศาลปกครองแผนกคดีวินัยการคลังและการงบประมาณในการรักษา วินัยทางการคลัง. วารสารวิชาการศาลปกครอง, 22 (3).
อานันท์ กระบวนศรี. (2565). เหลียวหลัง แลหน้า 2 ทศวรรษ “วินัยทางการคลัง” ในประเทศไทย : พัฒนาการ ทางความคิดจาก “วินัยทางงบประมาณและการคลัง” สู่ “วินัยการเงินการคลังของรัฐ” (ตอนที่ 1). วารสารกฎหมายปกครอง, 34 (1).
Alix Perrin. (2021). Contentieux administratif. 2e éd.. Paris: Dalloz.
Aurélien Baudu. (2021). Droit des Finances Publiques. 3e éd.. (Paris: Dalloz.
Bertrand Seiller. (2018). Droit administratif t.2 ; l'action administrative. 7e éd.. Paris: Collection Champs (Flammarion).
Bertrand SEILLER. (2004). L’illégalité sans annulation. AJDA, 18.
Éric Oliva. (2015) Finances Publiques. 3e éd.. .Paris: Sirey.
Gustave Peiser. (2014). Contentieux administratif. 16e éd.. Paris: Dalloz.
Jacques Buisson. (2015). Finances publiques. 16e éd.. Paris: Dalloz.
OCDE. (2016). Institutions supérieures de contrôle des finances publiques et bonne gouvernance supervision, analyse et prospective. (Extraits traduits du rapport en anglais Supreme Audit Insitutions and Good Governance: Oversight, Insight and Foresight.
Philippe Boucheix et al.. (2019). Les finances publiques. 1e éd.. Paris: Dunod.
Raymond Muzellec et al.. (2013). Finances Publiques, 16e éd.. Paris: Sirey.
Stéphanie Damarey. (2021). Droit public financier, 2e éd.. Paris: Dalloz.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารกฎหมายสงขลานครินทร์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ลิขสิทธิ์ในบทความที่ตีพิมพ์เผยแพร่เป็นของวารสารกฎหมายสงขลานครินทร์ วารสารกฎหมายสงขลานครินทร์มีสิทธิในการเผยแพร่ ทำซ้ำ หรือรวบรวมบทความที่ตีพิมพ์เผยแพร่แล้ว ความคิดเห็นใด ๆ ของผู้เขียนในบทความ กองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย ทั้งนี้กองบรรณาธิการวารสารไม่สงวนสิทธิในการคัดลอกแต่ให้อ้างอิงแหล่งที่มาด้วย