การพัฒนาที่อยู่อาศัยให้แก่ผู้สูงอายุผู้มีรายได้น้อยที่ตกอยู่ในฐานะผู้บุกรุกที่ดินของรัฐในมิติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
คำสำคัญ:
สิทธิในที่อยู่อาศัย, ผู้สูงอายุ, รายได้น้อยบทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัญหาหรือข้อจำกัดขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาที่อยู่อาศัยให้แก่ผู้สูงอายุที่เป็นผู้มีรายได้น้อยที่ตกอยู่ในฐานะผู้บุกรุกที่ดินของรัฐ 2) ถอดบทเรียนหรือแนวปฏิบัติที่ดีในการจัดที่อยู่อาศัยให้แก่ผู้มีรายได้น้อยที่ตกอยู่ในฐานะผู้บุกรุกที่ดินของรัฐในประเทศไทย 3) เสนอแนะแนวทางที่เหมาะสมในการจัดที่อยู่อาศัยให้แก่ผู้สูงอายุที่เป็นผู้มีรายได้น้อยในมิติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยการวิจัยนี้ได้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงเอกสาร (Documentary Research)
ผลการวิจัย พบว่า องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบางประเภท เช่น เทศบาลเมือง องค์การบริหารส่วนตำบล ไม่มีอำนาจในการจัดที่อยู่อาศัย อีกทั้งไม่สามารถใช้มาตรการบังคับทางปกครองแก่ผู้สูงอายุผู้มีรายได้น้อยที่บุกรุกที่ดินของรัฐได้ ขาดการนำหลักการมีส่วนร่วมไปดำเนินงาน ขาดการบูรณาการทำงานร่วมกัน ดังนั้น ควรเพิ่มเติมอำนาจหน้าที่ในการจัดที่อยู่อาศัยให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในทุกระดับ นำหลักการมีส่วนร่วมของชุมชนมาใช้ในการแก้ไขปัญหาและการบูรณาการทำงานร่วมกันระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน
ภาคประชาสังคมและชุมชน เพื่อเป็นหลักประกันสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนให้สามารถใช้ชีวิตได้อย่างมีคุณค่าและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
References
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. (2559). รายงานผลการศึกษา เรื่อง การกล่าวหา การชี้มูลความผิด ข้อทักท้วงและพฤติกรรมการกระทำความผิด. สืบค้นวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2567, จาก https://www.dla.go.th/upload/ebook/column/2016/7/2176_5794.pdf
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์, (2561) ยุทธศาสตร์การพัฒนาที่อยู่อาศัยระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560–2579). สืบค้นวันที่ 25 มกราคม 2567, จาก https://www.nha.co.th/download/%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B8%99%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%92%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%97/
การเคหะแห่งชาติ. (2562). รายงานสรุปและวิเคราะห์ฐานข้อมูลชุมชนผู้มีรายได้น้อยทั่วประเทศ 2562 บริษัทจีไอเอส จำกัด: ม.ป.ท.
ณปภัช สัจนวกุล และคณะ. (2565). เรื่องการสูงวัยในถิ่นที่อยู่ ข้อเสนอตัวแบบนโยบายจากบทเรียนต่างประเทศ (เอกสารสรุปการวิจัย). กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.
บริษัทธนารักษ์พัฒนาสินทรัพย์ จำกัด (ธพส.). (ม.ป.ป). ที่มาโครงการศูนย์ที่พักอาศัยสำหรับผู้สูงอายุแบบครบวงจร (Senior Complex). สืบค้นวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2567, จาก https://www.dadasset.com/
พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496.
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534.
เพจ Hi Songkhla. (2565). เทศบาลนครสงขลาแจ้งประชาสัมพันธ์ก่อนเข้ารื้อถอนอาคาร บริเวณแหลมสนอ่อนเข้ารื้อถอนในวันนี้ (27 เมษายน 2565). สืบค้นวันที่ 31 กรกฎาคม 2567, จากhttps://fb.watch/ubUM4RMljt/
มูลนิธิเพื่อการพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ. (ม.ป.ป.). ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับ SDGs. สืบค้นวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2567 จาก https://www.sdgmove.com/intro-to-sdgs/
มูลนิธิเพื่อการพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ. (ม.ป.ป.). ตัวชี้วัดและแดชบอร์ด. สืบค้นวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2567, จาก https://www.sdgport-th.org/indicators-dashboard/#1628572180860-04b99675-4efd
มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย. (2562). เปิดรายงานสถานการณ์ผู้สูงอายุไทย 2562 ตอนที่ 6 : เน้นอยู่อาศัยในที่เดิมเร่งสร้างที่พักต้นแบบ. สืบค้นวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2567, จาก https://thaitgri.org/?p=39501
มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย. (2563). เวทีเสวนา “นโยบายและการจัดการที่อยู่อาศัยสำหรับผู้สูงอายุในประเทศไทย. สืบค้นวันที่ 15 กรกฎาคม 2567, จาก https://thaitgri.org/?page_id=35858
วิชัย วิรัตกพันธ์. (2566). วิกฤตบ้านสูงวัย ผู้มีรายได้น้อย “คนจนมีสิทธิ์มั้ยครับ” โจทย์ใหญ่รัฐบาลเศรษฐา. สืบค้นวันที่ 25 มกราคม 2566 จาก https://www.prachachat.net/property/news-1453570
สถาบันพระปกเกล้า. (2566). องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย. สืบค้นวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2567 จาก https://www.kpi-corner.com/content/8073/local0001
สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน). (2566). รวมพลังชุมชนริมรางอีสาน ระดมแนวทางในการแก้ไขปัญหาที่อยู่อาศัยชุมชนที่ได้รับผลกระทบจากโครงการรถไฟความเร็วสูง. สืบค้นวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2567, จาก https://web.codi.or.th/20230510-45391/
สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน). (2566). โครงการพัฒนาที่อยู่อาศัยริมคลอง. สืบค้นวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2567, จาก https://web.codi.or.th/wp-content/uploads/2019/05/book-27072560.pdf
สมาคมสภาผู้สูงอายุแห่งประเทศไทย. (2567). รายงานประจำปี พ.ศ. 2551. สืบค้น วันที่ 15 กรกฎาคม 2567 จาก https://www.social-protection.org/gimi/gess/Media.action?id=12971
สรนันท์ ตุลยานนท์. (ม.ป.ป.). ภาพรวมของโลกด้านสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี (Health and Wellness). สืบค้นวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2567จาก https://www.mtec.or.th/post-knowledges/66565/
สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ, (2562), มติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 11 พ.ศ. 2561. สืบค้นวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2567 จาก https://infocenter.nationalhealth.or.th/Ebook/MatiSamatcha11/book.html#p=22
สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน). (2566). หลากหลายว่าด้วยเมืองน่าอยู่. สืบค้นวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2567 จาก https://knowledgeportal.okmd.or.th/article/64144387cfb1f
สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. (2561). วาระใหม่แห่งการพัฒนาเมือง (New Urban Agenda). สืบค้นวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2567 จาก https://ebooks.m-society.go.th/ebooks/detail/395
สำนักพัฒนาที่อยู่อาศัยชุมชนริมคลอง สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน). (2564). คู่มือการบริหารโครงการพัฒนาที่อยู่อาศัยชุมชนริมคลอง ปี 2565. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท..
สำนักงานการพัฒนาชุมชน สำนักพัฒนาสังคม กรุงเทพมหานคร, แผนพัฒนาที่อยู่อาศัยกรุงเทพมหานครและแผนปฏิบัติการด้านที่อยู่อาศัย. สืบค้นวันที่ 17 กรกฎาคม 2567, จาก https://webportal.bangkok.go.th/public/user_files_editor/103/SorSorchor/plan.pdf
สิรินทร์ยา พูลเกิด และณปภัช สัจนวกุล. (2563). ที่อยู่อาศัยที่เหมาะสมสำหรับผู้สูงอายุในสังคมไทย: แนวคิด พัฒนาการ และมุมมองเชิงนโยบาย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เดือนตุลา.
สิริลักษณ์ จันทร์แจ่มศรี และ ภิชชากรณ์ วงศ์ทองดีปี่แก้ว. (2567). แนวทางการแก้ไขปัญหาการอยู่อาศัยและทำกินในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ. สืบค้นวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2567, จาก https://www.onlb.go.th/about/featured-articles/5147-a5147
The ACTIVE Thai PBS, “ชัชชาติ” เดินหน้าแก้ปัญหาด้านที่อยู่อาศัยคนจนเมือง. สืบค้นวันที่ 15 กรกฎาคม 2567, จาก https://theactive.net/news/housing-20231002/
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วารสารกฎหมายสงขลานครินทร์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ลิขสิทธิ์ในบทความที่ตีพิมพ์เผยแพร่เป็นของวารสารกฎหมายสงขลานครินทร์ วารสารกฎหมายสงขลานครินทร์มีสิทธิในการเผยแพร่ ทำซ้ำ หรือรวบรวมบทความที่ตีพิมพ์เผยแพร่แล้ว ความคิดเห็นใด ๆ ของผู้เขียนในบทความ กองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นพ้องด้วย ทั้งนี้กองบรรณาธิการวารสารไม่สงวนสิทธิในการคัดลอกแต่ให้อ้างอิงแหล่งที่มาด้วย