วิเคราะห์ประสบการณ์จากการร่วมกิจกรรมท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ที่ส่งผลต่อความพึงพอใจ และความภักดีของนักท่องเที่ยวชาวไทย กรณีศึกษา ชุมชนตำบลบ้านแหลม จังหวัดสุพรรณบุรี

Authors

  • ขนิษฐา เปี่ยมคุ้ม -
  • มณฑกานติ ชุบชูวงศ์

Keywords:

การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ , กิจกรรมท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ , ความภักดี

Abstract

การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาประสบการณ์ของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่ได้รับจากการเข้าร่วมกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ 2) ศึกษาความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยในการร่วมกิจกรรมสร้างสรรค์ 3) ศึกษาอิทธิพลของประสบการณ์ที่ส่งผลต่อความพึงพอใจและความภักดีของนักท่องเที่ยว 4) ศึกษาอิทธิพลความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่ส่งผลต่อความภักดีของนักท่องเที่ยว โดยวิธีวิจัยเชิงปริมาณ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม จำนวน 351 คน ผลการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณของประสบการณ์ที่ส่งผลต่อความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทย พบว่า ประสบการณ์การเข้าร่วมกิจกรรมท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ส่งผลต่อความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทย ผลการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณของประสบการณ์การเข้าร่วมกิจกรรมท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ที่ส่งผลต่อความภักดีของนักท่องเที่ยวชาวไทย พบว่า ประสบการณ์การเข้าร่วมกิจกรรมท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ส่งผลต่อความภักดีของนักท่องเที่ยวชาวไทย และผลการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณของความพึงพอใจที่ส่งผลต่อความภักดีของนักท่องเที่ยวชาวไทย พบว่า ความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรมท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ของนักท่องเที่ยวชาวไทยส่งผลต่อความความภักดีของนักท่องเที่ยว

 

References

กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.(2563). "รมต.พิพัฒน์"ดัน"อพท."ผนึกเครือข่ายรับท่องเที่ยววิถีชีวิตใหม่

ผุดโปรแกรมทัวร์สัมผัสชุมชน 81 แห่ง เจาะตลาดคุณภาพ. สืบค้นเมื่อ 4 พฤศจิกายน 2563,จาก

https://www.mots.go.th/News-view.php?nid=12919

กองเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา.(2563). COVID-19 กับผลกระทบต่อการท่องเที่ยวไทย. สืบค้นเมื่อ 3

พฤศจิกายน 2563, จาก https://www.mots.go.th/download/TourismEconomicReport/4- 1TourismEconomicVol4.pdf

จักรวาล วงศ์มณี และรักษ์พงศ์ วงศาโรจน์. (2564). คุณลักษณะการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ที่นักท่องเที่ยว คาดหวังในแหล่งจุดหมายปลายทางเชิงสร้างสรรค์ในประเทศไทย.วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร,

(6), 2665-2678.

จินต์ประวีร์ เจริญฉิม และสิริชัย ดีเลิศ. (2563). กระบวนการถ่ายทอดภูมิปัญญาของผู้สูงอายุสู่ชุมชนและสังคม ที่ยั่งยืน. วารสารปาริชาต มหาวิทยาลัยทักษิณ, 33(2), 152-167.

ณัฏฐพัชร มณีโรจน์. (2560). การจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชน. วารสารวิชาการการท่องเที่ยวไทย นานาชาติ, 13(2), 25-46.

บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา (2555). พฤติกรรมนักท่องเที่ยว (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : เฟริ์นข้าหลวง พริ้นติ้ง แอนด์พับลิชชิ่ง.

ปิยพงศ์ เขตปิยรัตน (2564). ประสบการณ์การท่องเที่ยวที่ส่งผลต่อความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยใน การมาท่องเที่ยวฟาร์มสเตย์ในจังหวัดนครราชสีมา. วารสารการบริหารการปกครองและนวัตกรรม ท้องถิ่น, 5(2), 61-74.

เลิศพร ภาระสกุล. (2556). พฤติกรรมนักท่องเที่ยว (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.วิสาหกิจชุมชนท่องเที่ยววิถีชุมชนตาบลบ้านแหลม. (2562) รายงานข้อมูลนักท่องเที่ยว(เอกสารไม่ตีพิมพ์). สุพรรณบุรี : ฝ่ายการตลาดและประชาสัมพันธ์กลุ่มวิสาหกิจชุมชน ท่องเที่ยววิถีชุมชนตำบลบ้านแหลม.

สุดแดน วิสุทธิลักษณ์ และคณะ. (2556). การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ (Creative Tourism Thailand).กรุงเทพฯ: องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน).

อารีรัตน์ วัชรโยธินกุล. (2560). ความคาดหวังและมิติความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่ส่งผลต่อการกลับมาเยือนซ้ำเกาะล้านจังหวัดชลบุรี (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์).

อิษฎาภรณ์ พิรัชต์ชัยกุล และอัศวิน แสงพิกุล. (2563). ประสบการณ์การท่องเที่ยวแหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ

ประเภทบ่อน้ำพุร้อน ที่ส่งผลต่อความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทย ในอำเภอทองผาภูมิจังหวัด

กาญจนบุรี. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี, 10(2), 223-234.

Ali, F., Ryu, K., & Hussain, K. (2015). Influence of Experiences on Memories Satisfaction and Behavioral Intentions: A Study of Creative Tourism, Journal of Travel & Tourism Marketing, 33(1), 85-100.

Chen, H., & Rahman, I. (2018). Cultural tourism: An analysis of engagement, cultural contact, memorable tourism experience and destination loyalty. Tourism Management Perspectives, 26(September), 153–163.

Keller, K. L. (2013). Strateic Brand Management Building, Measuring, and Managing Brand Equity. England: Pearson Education Limited.

Khuong, M. N., & Ha, T. T. (2014). The Influences of Push and Pull Factors on the International Leisure Tourists’ Return Intention to Ho Chi Minh City, Vietnam - A Mediation Analysis of Destination Satisfaction. International Journal of Trade, Economics and Finance, 5(6), 490-496.

Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607-610.

Kim, J.-H., Ritchie, J. R. B., & McCormick, B. (2012). Development of a Scale to Measure Memorable Tourism Experiences. Journal of Travel Research, 51(1), 12–25.

Oppermann, M. (2000). Tourism destinations loyalty. Journal of Travel Research. 39(11), 78-84.

Richards, G., & Raymond,C. (2000). Creative Tourism. ATLAS News, 23, 16-20.

Suhartanto, D., Brien, A., Primiana, I., Wibisono, N., & Triyuni, N. N. (2019). Tourist loyalty in creative tourism: the role of experience quality, value, satisfaction, and motivation, Current Issues in Tourism, 23(7), 867-879.

Downloads

Published

2022-12-28

How to Cite

เปี่ยมคุ้ม ข. ., & ชุบชูวงศ์ ม. (2022). วิเคราะห์ประสบการณ์จากการร่วมกิจกรรมท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ที่ส่งผลต่อความพึงพอใจ และความภักดีของนักท่องเที่ยวชาวไทย กรณีศึกษา ชุมชนตำบลบ้านแหลม จังหวัดสุพรรณบุรี. APHEIT JOURNAL, 28(2), 77–90. Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/apheit-ss/article/view/258777

Issue

Section

Research Articles