การสังเคราะห์องค์ความรู้จากงานวิจัยเกี่ยวกับโรงแรมสีเขียวในประเทศไทย

Authors

  • ปรัทยุมน เลปนานนท์ -
  • อัศวิน แสงพิกุล

Keywords:

การสังเคราะห์ , การสังเคราะห์องค์ความรู้ , โรงแรมสีเขียว , การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

Abstract

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อ 1) ศึกษาและจำแนกประเด็นสำคัญของงานวิจัยเกี่ยวกับโรงแรมสีเขียวในประเทศไทย ในรอบ 10 ปี และ 2) วิเคราะห์และสังเคราะห์องค์ความรู้จากงานวิจัยที่เกี่ยวกับโรงแรมสีเขียวในประเทศไทย เพื่อให้ได้องค์ความรู้เกี่ยวกับโรงแรมสีเขียวในประเทศไทยที่เป็นประเด็นสำคัญ อันจะประโยชน์ต่อภาคธุรกิจในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและต่อการศึกษาวิจัยอื่นๆ งานวิจัยนี้เก็บข้อมูลจากฐานข้อมูลวิชาการ TCI และ Google Scholar และใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหาและสถิติเชิงพรรณนาในการวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า 1) งานวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับโรงแรมสีเขียวในประเทศไทยรอบ 10 ปี มีทั้งหมด 68 เรื่อง เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณจำนวนมากที่สุด ส่วนภูมิภาคที่นักวิจัยศึกษาเกี่ยวกับโรงแรมสีเขียวมากที่สุด คือ ภาคใต้ และนักวิจัยส่วนใหญ่เลือกศึกษาธุรกิจที่พักแรมประเภทโรงแรม (hotel) มากกว่า รีสอร์ต (resort) ส่วนหัวข้อที่นักวิจัยนิยมศึกษามากที่สุด คือ ทัศนคติและความคิดเห็นของผู้บริโภคต่อโรงแรมสีเขียว 2) สำหรับการสังเคราะห์องค์ความรู้งานวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับโรงแรมสีเขียวแบ่งออกเป็น 5 ประเด็น คือ 1) สาเหตุ/ปัจจัยของการเป็นโรงแรมสีเขียว 2) แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของพนักงาน 3) การรับรู้และความคิดเห็นของผู้บริโภคต่อโรงแรมสีเขียว 4) แนวทางการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม และ 5) แนวทางที่ควรส่งเสริมในการดำเนินงานของโรงแรมสีเขียว ทั้งนี้ ผู้บริหารโรงแรมสีเขียวอาจนำองค์ความรู้จากงานวิจัยนี้ไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาโรงแรมในด้านต่างๆ เพื่อประโยชน์ด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม

References

กัลยภรณ์ ก้วยเจริญพานิชก์ และพิพัฒพงศ์ ฟักแฟ. (2562). แนวทางการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การลดปริมาณขยะและการลดการใช้พลังงาน กรณีศึกษาของโรงแรม 5 ดาวแห่งหนึ่งในย่านสุขุมวิท. ใน การประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ครั้งที่ 9 (น. 1782-1795). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

เกริกไกร นนทลักษณ์ และ ชวลีย์ ณ ถลาง. (2563). ศักยภาพโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในเกาะช้าง. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ, 12(2): 40-49.

จุฑามาศ พรหมมา และณัฏฐ์วรดี คณิตินสุทธิทอง. (2564). แนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อมของโรงแรมสีเขียว

ในอําเภอขนอมจังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารนาคบุตรปริทรรศน์, 13(2): 10-19.

ญาณินท์ ปฐมกุล, วาทิต อินทุลักษณ์ และคาล จามรมาร. (2562). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจของผู้บริโภคที่จะเลือกใช้บริการโรงแรมสีเขียวในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์, 14(1): 237-246.

ทศพร กาญจนภมรพัฒน์. (2563). การจัดการองค์การสีเขียวของโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมในภาคใต้ฝั่งตะวันตกของประเทศไทย. วารสารรังสิตบัณฑิตศึกษาในกลุ่มธุรกิจและสังคมศาสตร์, 6(2):164-182.

ธาดาธิเบศร์ ภููทอง. (2563). ผลกระทบของภาพลักษณ์โรงแรมสีเขียวต่อความตั้งใจในการบอกต่อออนไลน์ของผู้บริโภค. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร, 40(6): 37-55.

ปิยะวิทย์ ทิพรส และอัศวิน แสงพิกุล. (2565). การวิเคราะห์งานวิจัยและคำวิจารณ์ของลูกค้าในธุรกิจเชิงสุขภาพประเภทเดย์สปา. วารสารการบริการและสังคมศาสตร์ปริทัศน์, 5(3): 75-87.

พรพิมล ศรีธเนศ และแสงแข บุญศิริ. (2562). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อสร้างการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อมของพนักงานโรงแรมสีเขียวในประเทศไทย. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร, 7(4): 1058-1072.

ระวีวรรณ ชูกิตติกุล และชาตยา นิลพลับ. (2564). อิทธิพลของการบริหารลูกค้าสัมพันธ์และความรับผิดชอบต่อสังคมที่มีต่อความจงรักภักดีของลูกค้าโรงแรมสีเขียว. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 12(1): 1-14.

ละออง รังสิมันตุชาติ. (2558). การศึกษาอิทธิพลของการรับรู้และการมีส่วนร่วมเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคมของพนักงานในโรงแรมสีเขียวที่มีต่อความพึงพอใจในงาน (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต), มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

วนิดา หาญเจริญ. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างความรับผิดชอบต่อสังคมตามมาตรฐานโรงแรมใบไม้สีเขียวกับความผูกพันของพนักงานในธุรกิจโรงแรมในจังหวัดภูเก็ต. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต, 12(2): 81-106.

สรัญญา จันทร์ชูสกุล. (2560). การประเมินคุณภาพวิทยานิพนธ์เกี่ยวกับการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนระดับประถมศึกษา. Veridian E-Journal, 10(2): 160-175.

สหประชาชาติ ประเทศไทย. (2565). เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน 12 บริโภคและผลิตอย่างมีความรับผิดชอบ. สืบค้นเมื่อ 17 ธันวาคม 2565, จาก https://thailand.un.org/th/sdgs/12.

สานิตย์ หนูนิล และ ประสพชัย พสุนนท์. (2557). พฤติกรรมสนับสนุนการเป็นโรงแรมที่มิตรกับสิ่งแวดล้อม: กรณีศึกษา โรงแรมดุสิต ปริ๊นเซส ศรีนครินทร์. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 8(1): 16-33.

โสภา ชินเวชกิจวานิชย์, วรวรรณ ประชาเกษม และ อาภาพร รุจิระเศรษฐ. (2561). โรงแรมสีเขียว: การริเริ่มของภาครัฐเพื่อโรงแรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม. วารสารวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมไทย. 32(2): 61-70.

โสรธัส ปุ่นสุวรรณ, ธนายุ ภู่วิทยาธร และ นิตย์ หทัยวสีวงศ์ สุขศรี. (2561). การพัฒนารูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อความเต็มใจจ่ายสำหรับการใช้บริการโรงแรมสีเขียว. วารสารวิทยาการจัดการ, 5(2): 106-129.

อัศวิน แสงพิกุล. (2556). การวิเคราะห์งานวิจัยด้านการท่องเที่ยวและการโรงแรมของประเทศไทยในรอบทศวรรษ (พ.ศ. 2543-2553). BU Academic Review. 12(1): 113-126.

ASEAN Secretariat. (2016). ASEAN Green Hotel Standard. Retrieved December 20, 2022, from https://www.asean.org/storage/2012/05/ASEAN-Green-Hotel-Standard.pdf.

Karavasilis G., Nerantzaki D. M., Pantelidis P., Paschaloudis D., & Vrana V. (2015). What Generation Y in Greece thinks about Green Hotels. World Journal of Entrepreneurship, Management and Sustainable Development, 11(4): 268-280.

Kim, W. G., McGinleyb, S., Choia, H.M., & Agmapisarn, C. (2020). Hotels’ environmental leadership and employees’ organizational citizenship behavior. International Journal of Hospitality Management, 87. 102375. https://doi.org/10.1016/j.ijhm.2019.102375.

Kim, Y.J., Kim, W.G., Choi, H.M., & Phetvaroon, K. (2019). The Eeffect of Green Human Resource Management on Hotel Employees’ Eco-friendly Behavior and Environmental Performance.International Journal of Hospitality Management, 76 83-93. https://doi.org/10.1016/j.ijhm.2018.04.007.

Kucukusta, D., Mak, A., & Chan, X. (2013). Corporate Social Responsibility Practices in Four and Five-star Hotels: Perspectives from Hong Kong Visitors. International Journal of Hospitality Management, 34: 19–30.

Kunchornsirimongkon, K. & Ditta-Apichai, M. (2019). Consumers’ Attitude Towards Green Hotels’ Environmentfriendly Policies In Bangkok. Conference proceeding from

The 2019 International Academic Research Conference (pp. 142-146). Copenhagen.

Mehta, A., & Sharma, S. (2019). A Study of Consumer Behavior and Visit Intention Towards Green Hotels. International Journal of Hospitality and Tourism System. 12(2): 27-36.

Mishra, P.P. (2016). How green are our hotels? Evidence from Thailand. Environment and Urbanization ASIA, 7(1): 132 – 148.

Shrestha, P., & Batra. A. (2014). A Study on Green Practices and Perception of Guests in Selected Green Hotels in Bangkok.Conference proceeding from International Conference on Inclusive Innovation and Innovative Management (ICIIIM 2014) (pp. 1-10). Bangkok: Valaya Alongkorn Rajabhat University.

Downloads

Published

2023-06-30

How to Cite

เลปนานนท์ ป., & แสงพิกุล อ. (2023). การสังเคราะห์องค์ความรู้จากงานวิจัยเกี่ยวกับโรงแรมสีเขียวในประเทศไทย. APHEIT JOURNAL, 29(1), 10–23. Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/apheit-ss/article/view/262108

Issue

Section

Research Articles