ส่วนผสมของมิกซ์: ปรากฏการณ์และอัตลักษณ์ของแฟนคลับมิกซ์ สหภาพ บนชุมชนออนไลน์

ผู้แต่ง

  • พิชฌ์นิพัทธ์ วิชัยโน

คำสำคัญ:

วัฒนธรรมแฟน, อัตลักษณ์, แฟนคลับ, ชุมชนออนไลน์

บทคัดย่อ

การศึกษาชุมชนในปัจจุบันได้หันเหสู่ความสนใจชุมชนบนโลกออนไลน์มากขึ้น โดยเฉพาะชุมชนแฟนคลับที่เป็นชุมชนของคนที่มีความสนใจร่วมกันเพื่อประกอบกิจกรรมทางสังคม บทความนี้จึงต้องการอธิบายปรากฏการณ์ของ ชุมชนแฟนคลับมิกซ์ สหภาพ บนชุมชนออนไลน์ ซึ่งมีความเกี่ยวข้องเชื่อมโยง กับกรอบคิดแฟนศึกษา มานุษยวิทยาดิจิทัล และทุนในมโนทัศน์ของบูร์ดิเยอ โดยบทความนี้มุ่งทำความเข้าใจใน 3 ประเด็นสำคัญ คือ หนึ่ง ปฏิบัติการการสร้างความหมาย ภาษา และมีมเฉพาะของกลุ่มแฟนคลับ สอง อัตลักษณ์ของ แฟนคลับ และสาม ทุนของกลุ่มแฟนคลับ ซึ่งจะช่วยสะท้อนให้เห็นถึงปรากฏการณ์และอัตลักษณ์ของแฟนคลับบนชุมชนออนไลน์

References

กรุงเทพธุรกิจออนไลน์. (2563, 13 มิถุนายน). ส่องมูลค่าตลาด 'ซีรีส์วาย” เรื่องรัก “ขายขาย” ที่ได้ใจคนดูทุกเพศ. กรุงเทพธุรกิจ สืบค้นเมื่อ 4 พฤษภาคม 2564, จาก https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/884794

กาญจนา แก้วเทพ. (2555). แฟนศึกษา ฉันมาแล้วจ้ะ ใน กาญจนา แก้วเทพ, ภัทรา บุรารักษ์, และตปากร พุธเกส (บ.ก.), สื่อที่ใช่ ของใครที่ชอบ: การ์ตูน โทรทัศน์ท้องถิ่น แฟนคลับ (น. 292-502). กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์

ณัฐธนนท์ ศุขถุงทอง, และภูวิน บุณยะเวชชีวิน. (2562). ซีรีส์วาย: ข้อพิจารณา เบื้องต้นทางสถิติ International Journal of East Asian Studies, 23(2), 360-383.

ไทยโพสต์. (2564, 1 มกราคม), เทรนด์ซีรีส์วายยังปังต่อปี 64. ไทยโพสต์. สืบค้นเมื่อ 4 พฤษภาคม 2564, จาก https://www.thaipost.net/main/ detail/88535

นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ. (2553). ขบวนการเคลื่อนไหวของเกย์ในสังคมไทย ภาคปฏิบัติการและกระบวนทัศน์ (วิทยานิพนธ์สังคมสงเคราะห์ศาสตร ดุษฎีบัณฑิต), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, กรุงเทพฯ

นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ. (2558). เควียร์กับการวิพากษ์มานุษยวิทยากระแสหลัก สืบค้นเมื่อ 4 พฤษภาคม 2564, จาก https://www.sac.or.th/ databases/anthropology-concepts/articles/1

บูร์ติเยอ, ปิแอร์. (2550). เศรษฐกิจของทรัพย์สินเชิงสัญลักษณ์ [Raisons pratiques: sur la theorie de l'action, chapitre 6.] (ชนิดา เสงี่ยม ไพศาลสุข, ผู้แปล). กรุงเทพฯ: คบไฟ.

พัน ฉัตรไชยยันต์. (2561). วัฒนธรรมแฟน: กรณีศึกษาเชิงชาติพันธุ์วรรณา เป๊ก ผลิตโชค แฟนคลับ (รายงานผลการวิจัย). กรุงเทพฯ: คณะสื่อสาร มวลชน มหาวิทยาลัยรามคำแหง

รุ้งนภา ยรรยงเกษมสุข. (2556). มโนทัศน์ชนชั้นและทุนของ ปิแอร์ บูร์ดิเออ. วารสารเศรษฐศาสตร์การเมืองบูรพา, 2(1), 29-44.

วิลาสินี พนานครทรัพย์. (2560). วิธีการวิจัยเชิงชาติพันธุ์วรรณาในชุมชน ออนไลน์, วารสารธรรมศาสตร์, 36(2), 58-76.

สายชล ปัญญชิต. (2553). ฟุตบอลแฟนคลับในสังคมไทยสมัยใหม่: ศึกษากรณี สโมสรเมืองทองหนองจอกยูไนเต็ด (วิทยานิพนธ์สังคมวิทยามหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. กรุงเทพฯ.

สุปรีดา ช่อลำใย. (2549). เครือข่ายการสื่อสารและการดำรงอยู่ของแฟนคลับ ธงชัย แมคอินไตย์ (วิทยานิพนธ์วารสารศาสตรมหาบัณฑิต) มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์. ปทุมธานี.

อภิญญา เฟื่องฟูสกุล. (2561). อัตลักษณ์: การทบทวนทฤษฎีและกรอบแนวคิด (พิมพ์ครั้งที่ 2). เชียงใหม่: ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

อาจินต์ ทองอยู่คง. (2555). “เป็นแฟนบอลมันมีอะไรมากกว่าตูบอล”: ปฏิบัติ การสร้างวัฒนธรรมของการมีส่วนร่วมของแฟนสโมสรฟุตบอลไทย วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา, 31(1), 69-104.

Barendregt, B. (2012). Diverse digital worlds. In H. A. Horst, & D. Miller (Eds.), Digital anthropology (pp. 203-224). New York: Berg.

Bourdieu, P. (1986). The forms of capital. In J. Richardson (Ed.), Handbook of theory and research for the sociology of education (pp. 241-258). New York: Greenwood.

De Certeau, M. (1984). The practice of everyday life. Berkeley: University of California Press.

Fiske, J. (2010). Understanding popular culture (2nd Edition). New York: Routledge.

Giddens, A. (1990). The consequences of modernity. Cambridge: Polity Press.

Giddens, A. (1991). Modernity and self-identity: Self and society in the late modern age. Cambridge: Cambridge University Press.

Lycaenion. (2015). [KPOP 101] Learn about K-pop Fan Club's Names & Origins. Retrieved April 30, 2021, from https://www. hellokpop.com/editorial/kpop-101-learn-k-pop-fan-clubs- names-origins/

Nożewski, J., & Trzcińska, J. (2016). Social media at the service of fandoms - the process of users involvement in the prosumtion culture. In A. Węglińska, & B. Węgliński (Eds.), New media in popuworld: Tools, threats and social phenomena (pp. 15-33). Wrocław: ATUT.

Shifman, L. (2013). Memes in a digital world: Reconciling with a conceptual troublemaker. Journal of Computer-Mediated Communication. 18(3), 362-377.

Taylor, J. (2013). Claiming queer territory in the study of subcultures and popular music. Sociology Compass, 7(3), 194-207.

ส่วนผสมของมิกซ์คนที่ 1. (4 พฤษภาคม 2564), สัมภาษณ์ส่วนตัว.

ส่วนผสมของมิกซ์คนที่ 2. (4 พฤษภาคม 2564), สัมภาษณ์ส่วนตัว.

ส่วนผสมของมิกซ์คนที่ 3. (4 พฤษภาคม 2564), สัมภาษณ์ส่วนตัว.

ส่วนผสมของมิกซ์คนที่ 4. (5 พฤษภาคม 2564), สัมภาษณ์ส่วนตัว.

ส่วนผสมของมิกซ์คนที่ 5. (5 พฤษภาคม 2564), สัมภาษณ์ส่วนตัว.

ส่วนผสมของมิกซ์คนที่ 6. (5 พฤษภาคม 2564), สัมภาษณ์ส่วนตัว.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-12