รูปแบบภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ของธุรกิจเครื่องดื่มในประเทศไทย

Main Article Content

ณฐอร ถุนาพันธุ์

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอรูปแบบภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ของธุรกิจเครื่องดื่มในประเทศไทย เมื่อทำการทบทวนวรรณกรรมและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องจากฐานข้อมูลที่ได้รับการยอมรับ 47 บทความ นำไปสู่การเสนอรูปแบบภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ของธุรกิจเครื่องดื่มในประเทศไทยใน 3 รูปแบบ ได้แก่ (1) วิสัยทัศน์กว้างไกลและบริหารงานเชิงกลยุทธ์ (2) เน้นความยืดหยุ่นในการทำงาน กล้าเสี่ยงและมีความคิดเชิงปฏิวัติและ (3) ขับเคลื่อนองค์การด้วยนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ โดยคณะผู้เขียนคาดว่าเมื่อองค์การมีผู้นำที่มีลักษณะดังที่กล่าวมาจะส่งผลให้องค์การสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินธุรกิจพร้อมทั้งสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันให้แก่องค์การได้เป็นอย่างดี 

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กล้าศักดิ์ จิตต์สงวน, ปิยพงษ์ สุเมตติกุล และ ไพฑูรย์ สินลารัตน์. (2557). รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์สำหรับผู้บริหารโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย, 4(1), 201-211.

กิตติกาญจน์ ปฏิพันธ์. (2555). โมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหาร สถานศึกษาอาชีวศึกษา. (วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2553). การคิดเชิงสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ: ซัคเซส มีเดีย.

จันทะวอน อุ่นจิต. (2552). คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษาแขวงสาละวันสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา). มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.

ชวิกา ทีเจริญ และ เพ็ญวรา ชูประวัติ.(2562). สภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา, 14(2), 1-12.

ณิชาภัทร ขันธ์โพธิ์น้อย อัจฉริยา อิสสระไพบูลย์ และขวัญฤดี ตันตระบัณฑิตย์. (2561). การบริหารการเปลี่ยนแปลงทางการตลาดที่มีต่อความสำเร็จขององค์กรธุรกิจเครื่องดื่มในประเทศไทย. วารสารวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ มข., 11(2), 18-36.

ณิชาภา สุนทรไชย, เชวงศักดิ์ พฤกษเทเวศ และ ประยุทธ ชูสอน. (2561). แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารโรงเรียนเอกชนในจังหวัดกาฬสินธุ์. วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 5(1), 67-76.

นิตยา หอยมุกข์ และ พา อักษรเสือ. (2561). กลยุทธ์การพัฒนาทักษะภาวะผู้นําในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ สาขามนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์, 7(1), 83-97.

นิพัชชา โรจน์รัตนวาณิชย์. (2560). สภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ภาวะผู้นำแบบสร้างความผูกผันของผู้อำนวยการโรงเรียนเอกชนสายสามัญศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ, 17(1), 74-80.

บุณรดา ทรงบุญศาสตร์ และ สุทธิพงษ์ หกสุวรรณ. (2560). การพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24. วารสารวิชาการแพรวากาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์, 4(1), 58-73.

ปรีชา วรารัตน์ไชย. (2562). กลยุทธ์การตลาดธุรกิจเครื่องดื่มเพื่อสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน.วารสารสมาคมนักวิจัย, 24(3), 322-332.

พระครูโกศลธรรมานุสิฐ, พระครูโสภณวีรานุวัตร, พระครูวิบูลย์เจติยานุรักษ์ และ เอกมงคล เพ็ชรวงษ์. (2562). ภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ในยุคไทยแลนด์ 4.0. วารสารศิลปศาสตร์ราชมงคลสุวรรณภูมิ, 1(1), 77-88.

พัฐณสิญ นวโลจิตรัตน์, พระมหาสหัส ฐิตสาโร และ สิน งามประโคน. (2560). รูปแบบการพัฒนาคุณลักษณะผู้นําแบบไทยอันพึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาภาคกลาง.วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 4(2), 40-55.

พันธุ์อาจ ชัยรัตน์. (2547). บทนำ เบื้องต้นของการจัดการ นวัตกรรม. การจัดการ นวัตกรรมสำหรับผู้บริหาร. กรุงเทพฯ: สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.

เฟาซี วงค์ภักดี และ อโนทัย ประสาน. (2556). ภาวะผู้นำที่พึงประสงค์ของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครูสถานศึกษา เอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดนครศรีธรรมราช.วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 5(2), 94-105.

รัตติกรณ์ จงวิศาล. (2556). ภาวะผู้นำ : ทฤษฎี การวิจัย และแนวทางสู่การพัฒนา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วริศราศิริมงคล และ รัชนิวรณ์รณ อนุตระกูลชัย.(2562). กลยุทธ์การพัฒนาภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต.วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 6(3), 687-705.

วิโรจน์ เสียงไพเราะ. (2546). วิสัยทัศน์ของผู้บริหารที่ส่งผลต่อพฤติกรรมความเป็นผู้นำทางวิชาการ ของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร

สวนีย์ อ่อนสุวรรณ์. (2561). ตัวแบบการพัฒนาสมรรถนะทางการจัดการสำหรับบุคลากรขององค์กรธุรกิจผลิตเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพในประเทศไทย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยปทุมธานี, 10(2), 47-58.

สุทัตตา พงษ์ศิริพัฒน์ และ สุกัญญา แช่มช้อย. (2561). ความต้องการในการพัฒนาครูโรงเรียนพระแม่มารีอุปถัมภ์ตามแนวภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา, 14(2), 1-12.

Bass, B. M. (1985). Model of Transformational Leadership.In T. F. Mech& G.B. McCabe (Eds.). Leadership and academic librarians (pp. 66–82). Westport: Greenwood.

Bennis, W. (1991).Learning Some Basic Truisms about Leadership. National Forum, 71(1), 12-15.

Braun, J. B. (1991). An Analysis of Principle Leadership Vision and Its Relationship to School Classmate. Dissertation Abstracts international, 52(4), 11390-A.

Chamchoy, S. (2012). Concept of Innovation for School Management in the 21stCentury. Journal of Education Naresuan University, 14(2), 117-128.

Damanpour, F. (1987). The Adoption of Technological, Administrative, and Ancillary Innovations: Impact of Organizational Factors. Journal of Management, 13(4), 675-688.

Ellis, N. E., & Joslin, A. W. (1990).Shared Governance and Responsibility: The Keys to leadership, Commitment and Vision in School Reform. U.S.A.: Department of Educational Design and Management School of Education.

Fisher, C. D. (1993). Boredom at Work: A neglected concept. Human Relations, 46(3), 395 - 417.

Fisher, K. (1993). Leading Self-Directed Work Teams: A Guide to Developing New Team Leadership Skills. New York: MCGraw-Hill.

Girvan, N. (2001). Reinterpreting the Caribbean.In B. Meeks & F. Lindahl (Eds.), New Caribbean thought: A reader. Jamaica: University of the West Indies Press.

Lee, D. M. (2008). Essential Skills for Potential School Administrators: A Case Study of One Saskatchewan Urban School Division. Saskatoon: University of Saskatchewan.

Locke, E. A. , & Kirkpatrick, S. (1991). The Essence of Leadership: The Four Keys to Leading Successfully. New York: Lexington Books.

Lux, R., & Paul, J. (2007). Team Management. Bangkok: Exponnet.

McFarland. (1979). Management: Foundation & Practices. (5th ed.). New York: Macmillan Publishing.

Mitchell, T. R., & Larson, J. R. (1987).People in Organizations: An Introduction to Organization Behavior. (3rd ed.). New York: McGraw-Hill.

Reilly, R. R., & Lewis, E. L. (1983). Educational Psychology. New York: Macmillan Publishing.

RiverPlus. (2562). แนวโน้มอุตสาหกรรมเครื่องดื่มของไทย ปี 2019-2021.ค้นเมื่อวันที่ 12 มกราคม 2563, จากhttps://riverplus.com/beverage-industry-2019-2021/.

Sena, A. , & Erena, E. (2012).Innovative Leadership for the Twenty-First Century.Retrieved25 December 2019. From: www.sciencedirect.com.

Thompson, S. K. (1990). Adaptive Cluster Sampling. The American Statistical Association, 85(412), 1,050–1,059.

Vlok, A. (2012). International Conference on Leadership, Technology and Innovation Management. Retrieved25 December 2019. From: www.sciencedirect.com.

Wutthirong, P. (2014). Organizational Innovativeness Conceptual Framework: Integration of Resource Based View and Learning Organization Concept. NIDA Development Journal, 54(1), 21-48.