การศึกษาสร้างคน คนสร้างประเทศชาติ
Main Article Content
บทคัดย่อ
การสร้างคนให้มีความรู้ ความสามารถมีทักษะพื้นฐานที่จำเป็นมีลักษณะนิสัยจิตใจที่ดีงาม มีความพร้อมที่จะต่อสู้เพื่อตนเองและสังคม มีความพร้อมที่จะประกอบการงานอาชีพได้ การศึกษาช่วยให้คนเจริญงอกงาม ทั้งทางปัญญา จิตใจ ร่างกาย และสังคม การศึกษาจึงเป็นความจำเป็นของชีวิต นอกเหนือจากความจำเป็น ด้านที่อยู่อาศัย อาหารเครื่องนุ่งห่ม และยารักษาโรค การศึกษาจึงเป็นปัจจัยที่ 5 ของชีวิต ซึ่งเป็นปัจจัยที่จะช่วยแก้ปัญหาทุก ๆ ด้านของชีวิต และเป็นปัจจัยที่สำคัญที่สุดของชีวิตในโลกที่มีกระแสความเปลี่ยนแปลงทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว และส่งผลกระทบให้วิถีดำรงชีวิตต้องเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วเช่นเดียวกับการศึกษายิ่งมีบทบาทและความจำเป็นมากขึ้นด้วยการศึกษาจะต้องเน้นให้บุคคลเกิดการคิดที่เป็นการคิดให้เป็น ซึ่งประชากรไทยยังขาดการคิดเป็นอยู่ ในขณะเดียวกันภาครัฐต้องร่วมมือกับภาคเอกชนในการส่งเสริมกำลังปัญญาของชาติเพื่อนำมาพัฒนาประเทศหรือการที่จะมีบุคคลมาสร้างชาตินั่นเอง
Article Details
References
คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, สำนักงาน.(2543) การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการทางการศึกษา ในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก : แนวโน้มและประเด็นสำคัญ. กรุงเทพมหานคร: ฟันนี่พลับลิชชิ่ง.
คณิน บุญสุวรรณ,ผู้แปล. (2519). จีนสามยุค. โดยลูเชียน ดับเบิ้ลยู พาย. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์กรุงสยาม.
โครงการ“การศึกษาไทยในยุคโลกาภิวัตน์” (2539) ข้อเสนอปฏิรูปการศึกษาไทย. เอกสารจากการประชุมสมัชชาการศึกษา ณ ธนาคารกสิกรไทย. กรุงเทพมหานคร : (26 มกราคม 2539 ).
เจือจันทน์ อัชพรรณ,ผู้แปล. (2535). โอวาทสี่ของท่านเหลี่ยวฝาน. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ธรรมสภา.
ประเสริฐ สุทธิประสิทธิ์. (2544). “ISO9000 ในสถานศึกษา : หัวใจอยู่ที่ความตระหนักในการประกันคุณภาพการศึกษา”.วารสารสมาคมส่งเสริมเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น For Quality. (มกราคม-กุมภาพันธ์).
_________, (2544) “การศึกษากับรัฐธรรมนูญ : เพื่อปวงชนอย่างมีคุณภาพและได้มาตรฐาน”.วารสารสุโขทัยธรรมาธิราช . 14 (มกราคม-เมษายน 2544) และเพื่อความเข้าใจโปรดอ่าน “รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540“ ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 144 ตอนที่ 55ก (11 ตุลาคม 2540) และ “พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542“ ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 116 ตอนที่ 74ก (11 สิงหาคม 2542).
พรศักดิ์ ตระกูลชีวพานิตต์. (2540). การสอน ISO9002. ในระดับอุดมศึกษา. กรุงเทพมหานคร : (เอกสารประกอบการสัมมนา) โครงการการศึกษาทั่วไป. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พระราชวรมุนี(ประยุทธ์ ปยุตโต). (2518). ปรัชญาการศึกษาไทย. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์เคล็ดไทย.
พัชรกิติยาภา,พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้า. (2544) “ยุทธศาสตร์ของประเทศไทยในกระแสโลกาภิวัตน์.”วารสารสุโขทัยธรรมาธิราช . 14 1 (มกราคม-เมษายน 2544) .
ราชบัณฑิตยสถาน. (2531). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ฉบับ พ.ศ.2525. (พิมพ์ครั้งที่ 4) กรุงเทพมหานคร : บริษัทอักษรเจริญทัศน์.
รุ่ง แก้วแดง. (2543). การศึกษาในฐานะปัจจัยกำลังอำนาจแห่งชาติ ปาฐกถาพิเศษแสดง ณ วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร. 21 (พฤศจิกายน) 2543 .
_________, (2543) “คุณภาพการศึกษาไทย ในทัศนะประชาชน”.หนังสือพิมพ์มติชนรายวัน. 7 (กรกฎาคม) 2543 .
_________,. (2540) “ศักยภาพและความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาของคนไทย”. หนังสือพิมพ์มติชนรายวัน. 21 (กรกฎาคม) 2540 .
_________, (2541) “ทิศทางอุดมศึกษาไทย”. สารปฏิรูป. กรกฎาคม 2541 .
วิจิตร ศรีสอ้าน,ศาสตราจารย์,ดร.(2539). อนาคตการศึกษาไทยในสองทศวรรษหน้า. กรุงเทพมหานคร : บริษัทซัคเซสมีเดีย จำกัด. ศิลป โหรพิชัย. ป.นักระนาด. (2530)
พระบรมโพธสมภารร่มเย็นเป็นสุข” ใน วิทยา วิทยาอำนวยคุณ(บรรณาธิการ). เส้นทางธุรกิจฉบับพิเศษ : คนจีน 200 ปี ภายใต้พระบรมโพธิสมภาร ภาค 2. กรุงเทพมหานคร : สหมิตรการพิมพ์.
ศึกษาธิการ,กระทรวง. (2542) คำชี้แจงประกอบพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์การศาสนา.
สุรางค์ โค้วตระกูล. (2533) จิตวิทยาการศึกษาทั่วไป. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สำนักนโยบายและแผนการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม, สำนัก กระทรวงศึกษาธิการ.(2542). การวิเคราะห์ พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติในรูปของนโยบายและแผน. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์การศาสนา.
อดุลย์ วิริยเวชกุล, (2538). การอุดมศึกษาปริทัศน์ 2. มหาวิทยาลัยมหิดล. พฤศจิกายน 2538.
อัญญา ศรีสมพร. บทความเรื่อง การศึกษาสร้างคน คนสร้างชาติ. (ออนไลน์).
https://www.kroobannok.com 23 พ.ค. 2552 สืบค้นเมื่อ วันที่ 30 ตุลาคม 2562
อำรุง จันทวานิช. (2542). การพัฒนาคุณภาพการศึกษา : แนวทางสู่การปฏิบัติเพื่อการพัฒนาประเทศ. เอกสารการวิจัย ว.ป.อ. รุ่น 41.
Afred Bloom. (1971). “Far Eastern Religions Tradition” in W.Rechard Comstock,(ed.). Religion and Man : An Introduction. (New York : Harper&Row Publishers).
Chen Jingpan. (1993). Confucius as a Teacher. Malaysia : Delta Publishing Sdn Bhd.
Walton, Mary. (1986.) The Deming Management Method. A Perigee Book, New York.
Weley, Arther.(1969). Three Ways of Thought in Ancient China. London : George Allen & Unwin Ltd.,