ยุทธศาสตร์การสื่อสารของพรรคการเมืองไทยในยุคดิจิทัล

Main Article Content

พระครูใบฎีกาวิชาญ ทรงราศี
พระปลัดสุระ ญาณธโร
ลัดดาวัลย์ คงดวงดี

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อนำเสนอรูปแบบการสื่อสารในยุคดิจิทัล 2) เพื่อศึกษารูปแบบการสื่อสารทางการเมืองของพรรคการเมืองไทย 3) เพื่อวิเคราะห์ยุทธศาสตร์การสื่อสารของพรรคการเมืองไทยในยุคดิจิทัล ใช้การวิจัยเอกสารผู้วิจัยใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากหนังสือ เอกสาร รายงาน หรือสื่อต่างๆ แล้วเสนอผลการศึกษาในเชิงวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการสื่อสารในยุคดิจิทัล มีช่องทางออนไลน์และออฟไลน์ ประกอบด้วย การสร้างผ่านตัวอักษร วิดีโอ หรือ รูปภาพ พรรคการเมืองไทยมียุทธศาสตร์การสื่อสารทางการเมืองด้วยการสร้างเนื้อหาที่เป็นการอธิบายเกี่ยวกับแบรนด์พรรคการเมือง ผู้สมัครรับเลือกตั้ง การแสดงทัศนะทางการเมือง เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมทางการเมือง โดยใช้ช่องทางผ่าน Facebook, Twitter, Youtube เป็นส่วนสำคัญที่จะสร้างจุดเด่นทำให้พรรคการเมืองอยู่ในกระแส ที่ทำให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลและสามารถกดติดตามได้อย่างต่อเนื่อง รวดเร็ว ประกอบกับการลงพื้นที่หาเสียง ทำให้มีโอกาสเข้าไปอยู่ในความทรงจำและประกอบการตัดสินใจของผู้ที่มีสิทธิ์ลงคะแนนเสียงอย่างมีประสิทธิภาพ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2010). การสื่อการเมืองระดับชาติ. สืบค้นจาก https://www.stou.ac.th/Schoolnew/polsci/UploadedFile/%E0%B8%99.%2010%20%E0%B8%AD.%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%A8%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%94%E0%B8%B4%E0%B9%8C.pdf.

คันธิรา ฉายาวงศ์. (มกราคม – มิถุนายน 2564). แนวโน้มการเมืองไทยกับสื่อสังคมออนไลน์ในศตวรรษที่ 21. วารสารเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มทร.พระนคร, 6(1).

พันธกานต์ ทานนท์. (กรกฎาคม – ธันวาคม 2563). กลยุทธ์การตลาดการเมืองไทยปี 2562 กรณีศึกษา : พรรคอนาคตใหม่. วารสารนิเทศศาสตร์และนวัตกรรม นิด้า, 7(2). 97-115.

วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. มนุษย์. สืบค้นจากhttps://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%A9%E0%B8%A2%E0%B9%8C

วุฒิพร ลิ้มวราภัส. (2562). กระบวนการมีส่วนร่วมทางการเมืองผ่านสื่อออนไลน์กรณีศึกษา โพสต์ทูเดย์ และแนวหน้า. (ปริญญาวิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

สุชาติ บำรุงสุข. (2564). Club House “สโมสร” ต่อต้านเผด็จการ!. สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/surachart/article_404270

เหมือนฝัน คงสมแสวง. (2562). การสื่อสารทางการเมืองของพรรคเพื่อไทยผ่านสื่อสังคมออนไลน์. วารสารบัณฑิตวิทยาลัยรำไพพรรณี, 2(2).48-49.

เอกรินทร์ ต่วนศิริ. (กันยายน - ธันวาคม 2563). การหาเสียงทางการเมืองในโลกออนไลน์กรณีศึกษาพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้. วารสารสถาบันพระปกเกล้า, 18(3). 36-57.

Admissionpremium. (2563). ประโยชน์ของการสื่อสารในยุคดิจิทัล. สืบค้นจากhttps://www.admissionpremium.com/it/news/5335.

Agree, W.K., Ault P.H., & Emery, E. (1976). Introduction to mass communication. New York, NY: Harper & Row.

Akkanut Wantanasombut. (2019). โซเชียลมีเดียสร้างการเคลื่อนไหวทางสังคมได้ แต่ก็ทำให้ล้มเหลวได้เช่นกัน?. สืบค้นจาก https://thematter.co/thinkers/success-and-failure-of-social-media/88989.

Coleman, J. S. (1960). The Politics of the Developing Area. Princeton: Princeton University Press.

Dennis W. Johnson. (2001). No Place for Amateurs. London: Routledge.

G.A. Almond and Powell, G. Bingham Jr. (eds.). (1980). Comparative Politics Today: A World View. Boston: Brown and Company.

Karl W. Deustch. (1966). The Nerves of Government : Models of Political Communicationand Control. New York: The Free Press.

Lip acticle (2020). ประเภทของการสื่อสารในยุคดิจิทอล. สืบค้นจาก http://www.stc.ac.th/external_newsblog.php?links=314.

Manuel Pares I Maicas. (1992). Introduction a Ia communication social. Barcelona : ESRPPPU.

Marketeer Team. (2016). เปิดยุค Digital 1.0-4.0. สืบค้นจาก https://marketeeronline.co/archives/24632

Pye, Lucian W. (1972). Introduction in Communication and Political Development. New Jersey, NJ: Princeton University Press.

R.E. Denton, G.C. Woodward. (1990). Political Communication in America. New York : Praeger.

Safranek, R. (2012). The Emerging Role of Social Media in Political and Regime Change. Available from URL: https://www.academia.edu/11859835/Article Review.