การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน หน่วยการเรียนรู้ ผจญภัยไปด้วยกัน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) พัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานของนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หน่วยการเรียนรู้ ผจญภัยไปด้วยกัน ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75
2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ ผจญภัยไปด้วยกัน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา
ปีที่ 5 ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน 3) ศึกษาความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน
กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนบ้านหนองไผ่ล้อม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 29 คน โดยการสุ่ม
แบบกลุ่ม (Cluster random sampling) เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3) แบบวัดความสามารถในการแก้ปัญหา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที
ผลการวิจัยพบว่า
1) แผนการจัดการเรียนรู้ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐานที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ เท่ากับ 78.65/76.90 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้
2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หน่วยการเรียนรู้ ผจญภัยไปด้วยกัน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา
ปีที่ 5 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
3) ผลการศึกษาความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน พบว่านักเรียนที่มีความสามารถในการแก้ปัญหาระดับดี จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 51.72 นักเรียนที่มีความสามารถในการแก้ปัญหาระดับพอใช้ จำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 48.28
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2560), ตัวชี้วัดและหลักสูตรแกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.
สำนักคณะกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ, กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพ์ชุมนุม
สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
กุลจิรา ทะนงศิลป์. (2561). ผลการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน เรื่องชีวิตในสิ่งแวดล้อม
ที่มีผลต่อความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์และเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ ของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ในโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษจังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ์ปริญญา
ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
จินตนา นนท์ขุนทด. (2557). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสามารถในการคิด
แก้ปัญหา และความพึงพอใจในการเรียน เรื่อง การปฐมพยาบาลเบื้องต้น ของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่1 ที่เรียนด้วยโปรแกรมบทเรียนแบบสถานการณจำลองที่มีรูปแบบการนำเสนอ
มัลติมีเดียแตกต่างกัน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
จิรัชญา นวนกระโทก (2560). ผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับการใช้คำถามระดับสูง
ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และความสามารถในการคิดแก้ปัญหา เรื่อง อาหาร
กับการดำรงชีวิต ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาการสอนวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
ฉัตรทริกา ศรีรักษา. (2561). การพัฒนากิจกรรมแนะแนว ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน (PBL)
เพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4.
วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการเรียนการสอน มหาวิทยาลัย
ราชถัฏมหาสารคาม.
เฉลิมชัย กาญจนคเชนทน์. (2559). การพัฒนาความสามารถในการคิดแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายในรายวิชชีววิทยา ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็น
ฐาน. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์
วิโรฒ.
ชนิการ์ ผันผ่อน (2562). การจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบปัญหาเป็นฐานเพื่อพัฒนาทักษะ การ
แก้ปัญหาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สมดุลเคมี สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
วิทยานิพนธ์. ปริญญาครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์การศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏ
มหาสารคาม
ชุติมา สรรเสริญ. (2560). การพัฒนาความสามารถการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน
(Problem-Based Learning) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษา
ณิชาพร ไหวดี. (2562) การจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน เรื่อง ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
เพื่อพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่5. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตรศึกษา. มหาวิทยาลัยราชถัฏ
มหาสารคาม.
ทิศนา แขมมณี. (2555). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดการกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ.
พิมพ์ครั้งที่6. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ (2556). การพัฒนาการคิด. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัด 9119 เทคนิค พริ้นติ้ง.
หน้า 292-296.
ประสาท เนืองเฉลิม. (2558). การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ. (2538). เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 4).กรุงเทพฯ:
สุวีริยาสาส์น.
วันเพ็ญ พิเสฏฐศลาศัย และคณะ. (2557). ผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
และสังคมเสริมด้วยแผนผังความคิดต่อความสามารถในการคิดแก้ปัญหา และผลสัมฤทธิ์ทางการ
ศรัลยา วงเอี่ยม.(2558). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการคิดแก้ปัญหาทาง
วิทยาศาสตร์ วิชาชีววิทยา เรื่อง สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับ
การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการ
สอนวิทยาศาษตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
สมชาย รัตนทองคำ. (2558). ทฤษฎีการเรียนรู้พื้นฐาน. เอกสารประกอบการสอน 475788 การสอนทาง
กายภาพบำบัด ภาคต้นปีการศึกษา 2558. สืบค้นจาก https://ams.kku.ac.th/aalearn/resource
/edoc/tech/book58/3len58.pdf
สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ. (2558). รายงานประจำปี 2558 สำนักงาน
คณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.)
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, กรุงเทพมหานคร : บริษัทพริ้นท์เอเบิ้ล จำกัด
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2550). แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การจัดการ
เรียนรู้แบบเป็นฐาน. กรุงเทพ ฯ : ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศ จำกัด
สุดารัตน์ สันจรรัตน์. (2564). การพัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และ
ความสามารถในการแก้ปัญหาโดยใช้การจัดการเรียนรู้ปัญหาเป็นฐาน (PBL) ร่วมกับผังกราฟิก
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา
หลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.
Andis K.; et al. (2013). Improvement in Generic Problem-Solving Abilities of Students
by Use of Tutor- less Problem- Based Learning in a Large Classroom Setting.
CBE—Life Sciences Education. 12 : pp.73-79.
Hmelo, C.E. and Evensen, Dorothy H. (2000). Problem-Based Learning : Gaining Insights on
Learning Interactions Through Multiple of Inquiry. Mahwah, New Jersey : Lawrence
Erlbaum Associates
M Chairul Basrun Umanailo. (2019). Problem-Based Learning As An Effort To Improve
Student Learning Outcomes. Accelerating the world's research. pp.1140-1143.
Weir, J.J. (April 1974). Problem Solving Every body’s Problem. The Science Teacher.4
: p 16-18.