การประยุกต์ใช้หลักการกุญแจเก้าดอกของสถาบันพลังจิตธรรมะจักรวาล (PDJ Institute)กับหลักธรรมสังคหวัตถุ 4 เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านสาธารณสุข
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอการประยุกต์ใช้หลักการกุญแจเก้าดอกของสถาบันพลังจิตธรรมะจักรวาล ร่วมกับหลักธรรม "สังคหวัตถุ 4" เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านสาธารณสุข เป็นแนวทางที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและยกระดับคุณภาพในการทำงานของบุคลากรสาธารณสุขได้อย่างเป็นระบบและครอบคลุมการพัฒนาทั้งด้านร่างกาย จิตใจ ปัญญาและการทำงานร่วมกับผู้อื่น โดยมุ่งเน้นการสร้างบุคลากรที่มีความอดทน มุ่งมั่นและสามารถปรับตัวต่อความท้าทายต่างๆได้ ประกอบด้วย 9 ด้านดังนี้ 1. ด้านการให้บริการที่ต่อเนื่องและมีคุณภาพ 2.ด้านการพัฒนาความรู้และการใช้เทคโนโลยีให้มีประสิทธิภาพ 3. ด้านการปรับตัวและเรียนรู้จากประสบการณ์จริง 4. ด้านการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ 5.ด้านการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 6. ด้านการพัฒนาความสัมพันธ์และบรรยากาศที่ดีในองค์กร 7. ด้านความเป็นผู้นำ 8.การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล 9. ด้านการสร้างจิตสำนึกมีจริยธรรมในวิชาชีพ
คำสำคัญ: หลักการกุญแจเก้าดอก, สังคหวัตถุ 4
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
ชณภา ปุญณนันท์. (2020). The Process of Seeking Nine-Keys Philosophy of Palangjit Dhamma
Jakrawan Institute and Utilization for Human Development. Solid State Technology, 63(2)
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
Armstrong, M. (2014). Handbook of Human Resource Management Practice (13th ed.).
Kogan Page.
Csikszentmihalyi, M. (2000). Positive psychology: An introduction. American Psychologist,
(1), 5–14.
Dessler, G. (2019). Human Resource Management (16th ed.). Pearson.Seligman, M. E. P., &
Daly, W. J. (2013). Promoting teamwork in healthcare: Evidence and implications. Journal
of Nursing Administration, 43(3), 132-136.
Hodgson, J., & Graham, M. (2019). Compassion in healthcare: lessons from a Christian
understanding of ethics. Journal of Medical Ethics, 45(9), 590-594.
Noe, R. A. (2017). Employee Training and Development (7th ed.). McGraw-Hill Education. Roberts, C. M. (2016). The Importance of Continuing Education for Healthcare
Professionals. Journal of Health Management, 24(3), 18-25.