การออกแบบและสร้างสรรค์เครื่องประดับ ที่ได้รับแรงบันดาลใจจากผ้าปักลายม้ง
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษารูปแบบของลวดลายผ้าปักลายม้ง 2) เพื่อศึกษาการออกแบบ เครื่องประดับจากผ้าปักลายม้ง 3) เพื่อจัดทำาเครื่องประดับจากผ้าปักลายม้ง โดยใช้เทคนิคการประกอบผ้าปักลายม้งและการลงยาสี Enamal เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) ผลงานเครื่องประดับที่ได้รับแรงบันดาลใจจากลวดลายของผ้าปักลายม้ง จำนวน 1 ชุด ประกอบด้วย สร้อยคอ แหวน ต่างหู และกำไล ประชากรที่วิจัย 2) แบบประเมินคุณภาพผลงาน ประชากรที่ศึกษา ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 9 คน ผลการวิจัย พบว่า เครื่องประดับที่ได้รับแรงบันดาลใจจากลวดลายของผ้าปักลายม้งในภาพรวมมีคุณภาพอยู่ในระดับดี
Article Details
References
ทองเจือ เขียดทอง. (2558). ผลิตภัณฑ์ผ้าปักม้ง : การออกแบบเชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์. [สืบค้นเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2561]. จาก www.journai.rmutt.ac.th
สถาบันวิจัยเชียงใหม่ (2550). ตลาดในพื้นที่โครงการหลวง : กรณีศึกษาผ้าปักและผ้าบาติกชาติพันธ์ม้ง.รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์สถาบันวิจัยเชียงใหม่,จังหวัดเชียงใหม่(ม.ป.ป.)
ศูนย์ประชาสัมพันธ์กองทัพภาคที่ 3 (2554).โครงการศิลปาชีพในพื้นที่โครงการพัฒนาเพื่อความมั่นคงพื้นที่ดอยยาว. ดอยผาหม่นดอยผาจิ.จังหวัดเชียงราย.
ชูใจ กินูญ. (2550). [สัมภาษณ์เมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2561] การพัฒนาผลิตผ้าพื้นเมืองชาวเขาเผ่าม้งบ้านเข็กน้อย อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์
ชนันท์วิไล ธงเชื้อ.(2554).[ออนไลน์].ลายปักม้ง.[สืบค้นเมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2561]. จาก hanant5gmilcom.blogspot.com
มติชน (2561). [ออนไลน์].ชุดม้งโกอินเตอร์แจ้งเกิดในงานอภิเษกสมรส”แฮร์รี่-มาร์เคิล”.[สืบค้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2561]. จาก www.matichon.co.th
วรรณรัตน์ อินทร์อ่ำ (2536).ศิลปะเครื่องประดับ.กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮาส์.