โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างความฉลาดทางอารมณ์ ความพึงพอใจ ในการทำงานและความผูกพันต่อองค์กรที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดี ขององค์กรของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ The Causal Relationship Model among Emotional Intelligence, Job Satisfaction and Organizational Commitment Influence Organizational Citizenship Behavior of Academic Support Personnel

Main Article Content

ศักดิ์ชัย จันทะแสง

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างความฉลาดทางอารมณ์ ความพึงพอใจในการทำงานและความผูกพันต่อองค์กรที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ และ 2) เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ จำนวน 230 คน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบตามสะดวก ดำเนินการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามออนไลน์ด้วย Google Form และวิเคราะห์โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุโดยใช้โปรแกรม LISREL ผลการวิจัยพบว่า 1) โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างความฉลาดทางอารมณ์ ความพึงพอใจในการทำงานและความผูกพันต่อองค์กรที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการตามสมมติฐานนั้น มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ พิจารณาจากค่าสถิติ
ไค-สแควร์ เท่ากับ 72.96 ค่า df เท่ากับ 48 ค่า p-value เท่ากับ 0.00 ดัชนี GFI เท่ากับ 0.97 ดัชนี AGFI เท่ากับ 0.98 ค่า SRMR เท่ากับ 0.00 ค่า RMSEA เท่ากับ 0.01 และ 2) ความฉลาดทางอารมณ์มีอิทธิพลทางตรงและทางอ้อมเชิงบวกต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร โดยมีตัวแปรความพึงพอใจในการทำงานและความผูกพันต่อองค์กรเป็นตัวแปรส่งผ่าน และความพึงพอใจในการทำงานมีอิทธิพลทางตรงและทางอ้อมเชิงบวกต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร โดยมีตัวแปรความผูกพันต่อองค์กรเป็นตัวแปรส่งผ่าน ส่วนความผูกพันต่อองค์กรมีอิทธิพลทางตรงเชิงบวกต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร ตัวแปรทั้งหมดสามารถร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการได้ร้อยละ 72

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

นฤมล จิตรเอื้อ และ วิโรจน์ เจษฎาลักษณ์. (2561). การรับรู้ความยุติธรรมในองค์การที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการทำงานอย่างสร้างสรรค์และผลการปฏิบัติงานเชิงนวัตกรรมผ่านความผูกพันต่อองค์การด้านจิตใจของอาจารย์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต, 14(2), 349-380.

Suliman, A. & Al‐Shaikh, F. (2007). Emotional intelligence at work: links to conflict and innovation, Employee Relations, 29,(2),208-220.

Gantt, S. & Agazarian, Y. (2004). Systems-Cantered Emotional Intelligence: Beyond Individual systems to organisation system Organizational Analysis, 12, (2), 147-169.

Themistocleous, M., Irani, Z., & Love, P. E. (2005). Developing e-government integrated infrastructures: a case study. In Proceedings of the 38th Annual Hawaii International Conference on System Sciences (pp. 228-228). IEEE.

สุพรรษา มากงลาด ศรีเรือน แก้วกังวาน สุเมธ สมภักดี และ นราเขต ยิ้มสุข. (2563). ความฉลาดทางอารมณ์ และความผูกพันต่อองค์การโดยมีความพอพอใจในงานเป็นตัวแปรสื่อของพยาบาล โรงพยาบาลแห่งหนึ่ง. วารสารสังคมสงเคราะห์ศาสตร์, 28(2), 113-135.

นาฏสรวง อินทร์แก้ว ทิพย์วัลย์ สุรินยา และ พนมพร พุ่มจันทร์. (2564). ความฉลาดทางอารมณ์ ความพึงพอใจในงานกับความสุขในการทำงานของบุคลากรกรมส่งเสริมการเกษตร. Proceeding National & International Conference, 2(14), 475-485.

Alismail, S. S., Cavaliere, L. P. L., Srinivasan, K., Chauhan, S., Muda, I., & Gangodkar, D. (2022). The Effect of Emotional Intelligence on Job Satisfaction and Organizational Commitment in the Case of Educational Sector. Webology, 19(1), 5236-5258.

Suleman, Q., Syed, M. A., Mahmood, Z., & Hussain, I. (2020). Correlating emotional intelligence with job satisfaction: Evidence from a cross-sectional study among Secondary School Heads in Khyber Pakhtunkhwa, Pakistan. Frontiers in psychology, 11(1), 1-14.

พิจิตรตรา ทับทิม และ ธัญนันท์ บุญอยู่. (2565). ตัวแบบสมการโครงสร้างของปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพในงานของพนักงานขับรถบรรทุกในจังหวัดนครปฐม. วารสารวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์บูรพาปริทัศน์, 16(2), 126-139.

ภีม พรประเสริฐ ยุทธณรงค์ จงจันทร์ และ อมรรัตน์ พรประเสริฐ. (2564). ความฉลาดทางอารมณ์และความผูกพันองค์การของพนักงาน กรณีศึกษาบริษัททีดับเบิ้ลยูเอเอ็นจิเนียริ่ง จํากัด. วารสารบัณฑิตวิทยาลัยรำไพพรรณี, 2(1), 41-51.

Rahiman, H. U., Kodikal, R., Biswas, S., & Hariharasudan, A. (2020). A meta-analysis of emotional intelligence and organizational commitment. Polish Journal of Management Studies, 22(1), 418-433.

Shafiq, M., & Rana, R. A. (2016). Relationship of emotional intelligence to organizational commitment of college teachers in Pakistan. Eurasian Journal of Educational Research, 16(62).

ศักดิ์ชัย จันทะแสง. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างความฉลาดทางอารมณ์ พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีต่อองค์การและความสุขในการทำงานของบุคลากรสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ. Mahidol R2R e-Journal. 7(2), 115-128.

กัณณ์ วีระกรพานิช. (2561). ตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ. วารสารเกษมบัณฑิต, 19 (ฉบับพิเศษ), 280-294.

ศักดิ์ชัย จันทะแสง และ กันตภณ ธรรมวัฒนา. (2559). โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างความฉลาดทางอารมณ์และการรับรู้ความยุติธรรมในองค์การที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีต่อองค์การของบุคลากรสายสนับสนุนมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 8, 130-144.

Dixit, O., & Singh, S. (2019). Moderating influence of emotional intelligence on organisational citizenship behaviour and counterproductive work behaviour. Journal of Strategic Human Resource Management, 8(1), 26-31.

Butt, S. S., Nisar, Q. A., Nadeem, S., & Baig, F. (2017). Longitudinal study to examine the influence of emotional intelligence on organizational citizenship behavior: Mediating role of political skills. WALIA journal, 33(1), 54-63.

Sharma, K., & Mahajan, P. (2017). Relationship between emotional intelligence and organisational citizenship behaviour among bank employees. Pacific Business Review International, 9(1), 20-29.

ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2547). จิตวิทยาการบริหารงานบุคคล. กรุงเทพฯ : ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพมหานคร.

ศักดิ์ชัย จันทะแสง. (2564). โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างความฉลาดทางจิตวิญญาณและความพึงพอใจในงานที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม, 8(1), 254-269.

Saridakis, G., Lai, Y., Muñoz Torres, R. I. & Gourlay, S. (2020). Exploring the relationship betweenjob satisfaction and organizational commitment: An instrumental variable approach. The International Journal of Human Resource Management, 31(13), 1739-1769.

Tarigan, V. & Ariani, D. W. (2015). Empirical study relations job satisfaction, organizational commitment, and turnover intention. Advances in Management and Applied Economics, 5(2), 21-42.

Fitrio, T., Apriansyah, R., Utami, S., & Yaspita, H. (2019). The effect of job satisfaction to organizational citizenship behavior (OCB) mediated by organizational commitment. International Journal of Scientific Research and Management, 7(9), 1300- 1310.

Fazriyah, M., Hartono, E., & Handayani, R. (2019). The Influence of Job Satisfaction and Organizational Commitment on Organizational Citizenship Behavior. International symposium on social sciences, education, and humanities (ISSEH 2018) (pp. 201-205). Atlantis Press.

Setiawan, D. P., & Gunawan, H. (2018). The effect of job satisfaction and organization commitment to job performance through organizational citizenship behavior (OCB) as meditation variable (Empiris study on pt. Bank Mandiri at Jakarta). Business and Entrepreneurial Review, 18(1), 1-18.

Arif Prasetio & Syahrizal Siregar & Luturlean, Bachruddin. (2015). The effects of job satisfaction and organizational commitment on organizational citizenship behavior. Jornal Siasat Bisnis, 19,99-108.

Koning, L. F., & Van Kleef, G. A. (2015). How leaders' emotional displays shape followers' organizational citizenship behavior. The Leadership Quarterly, 26(4), 489-501.

Hejazi, M., Mahboubi, M., Keshavarzi, A., & Zinat-Motlagh, F. (2015). Job Satisfaction and Organizational Commitment a Reflection of Organizational Citizenship Behaviors. Journal home page: http://www. journalsci. com ISSN, 2322, 326X.

Hafiz, A. Z. (2017). Relationship between organizational commitment and employee’s performance evidence from banking sector of Lahore. Arabian Journal of Business and Management Review, 7(2), 1-7.

Maftuhatul, Fazriyah & Hartono, Edy & Handayani, Rini. (2019). The Influence of Job Satisfaction and Organizational Commitment on Organizational Citizenship Behavior. Advances in Social Science, Education and Humanities Research, 306(1), 201-205.

Devece, C., Palacios-Marqués, D., & Alguacil, M. P. (2016). Organizational commitment and its effects on organizational citizenship behavior in a high-unemployment environment. Journal of Business Research, 69(5), 1857-1861.

Organ, D. W. (1990). The motivational basis of organizational citizenship behavior. Research in organizational behavior, 12(1), 43-72.

Edmonds, W. A. & Kennedy, T. D. (2017). An applied guide to research designs: Quantitative, qualitative, and mixed methods. Sage.

Golemen, D. (1998). Working with Emotional Inelligence. New York : Bantam Book.

Locke, E. A. & Schweiger, D. M. (1979). Participation indecision making: One more look. JAI Press

Allen, N. & Meyer, J. (1990). The measurement and antecedents of affective, continuance, and normative commitment to the organization. The Journal of Occupational Psychology, 63 (1), 1-18.

Hair,J.F., Black, W.C., Babin,B.J. & Anderson,R.E. (2014). Multivariate data analysis a global Perspective (7thed.). New Jersey: Prentice-Hall International.

Madden, T. J. & Dillon, W. R. (1982). Causal analysis and latent class models: An application to a communication hierarchy of effects model. Journal of Marketing Research, 19, 472-490.

Rovinelli, R., & Hambleton, R. K. (1976). On the use of content specialists in the assessment of criterion- referenced test item validity. Washington, D.C. : ERIC.

บุญชม ศรีสะอาด. (2556). วิธีการทางสถิติสำหรับการวิจัย เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

Nunnally, J. C. (1978) Psychometric theory (2nd Ed.). New York: McGraw-Hill.

ธานินทร์ ศิลป์ จารุ. (2552). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพมหานคร: บิสซิเนสอาร์แอนด์ดี.

พูลพงศ์ สุขสว่าง. (2561). โมเดลสมการโครงสร้าง. พิมพ์ครั้งที่ 2. ชลบุรี: เอ.พี. บลูปริ้นท์

Edmonds, W. A. & Kennedy, T. D. (2017). An applied guide to research designs: Quantitative, qualitative, and mixed methods. Sage.

สถาพร พฤฑฒิกุล (2558). ปัจจัยพหุระดับที่ส่งผลต่อความสุขในการทำงานของครูโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานภาคตะวันออก. วารสารศรีปทุมชลบุรี, 11(4), 60-70.

Marques, J. (2007). Leadership: emotional intelligence, passion and … what else?". Journal of Management Development, 26, (7), 644-651.