ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารที่ส่งผลต่อความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ในกรุงเทพมหานคร Innovative Leadership of College Administrators Affecting the Being of Learning Organization of Colleges in Bangkok under the Office of Vocational Education Commission

Main Article Content

Suchittra Koetphon

บทคัดย่อ

The research objectives were to (1) study the innovative leadership of college administrators, (2) explore the learning organization of colleges, (3) analyze the relationship between innovative leadership of college administrators and learning organization of colleges; and, (4) analyze the innovative leadership of college administrators affecting the being of learning organization of the Colleges in Bangkok under the Office of Vocational Education Commission. The research sample comprised 279 college teachers in Bangkok under the Office of Vocational Education Commission.  The instrument used was a questionnaire. Statistics used in data analysis were the mean, standard deviation, Pearson’s product- moment correlation coefficient, and stepwise multiple regression analysis. The findings were: (1) the overall of learning organization of school administrators were rated at the high level with the highest to the lowest average as follows: supporting innovation, having a changing vision, innovation networking, creating an innovation atmosphere, and having innovative thinking skills; (2) the overall of learning organization of colleges were rated at the high level with the highest to the lowest average as follows: creating learning dynamics, empowering members of the organization, reforming the organization for excellence in learning, knowledge management, and application of information technology; (3) innovative leadership of college administrators related to learning organization of colleges were positively correlated at a high level; and; (4) innovative leadership of college administrators affected the being of learning organization of school were the following: supporting innovation, having a changing vision, innovation networking and having innovative thinking skills. All could be able to jointly predict the learning organization of colleges at 79.80 percent with a statistical significance at the .01 level.

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

Stefanie, U., Foerster, M., Marquardt. K., Golowko, N., Kompalla, A. & Hell, Ch., (2018). Digital Transformation and its Implications on Organizational Behavior. Journal of EU Research in Business, DOI : 10.5171/2018.340873. pp. 1-14.

กุลชลี จงเจริญ. (2562). ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรม. ประมวลสาระชุดวิชานวัตกรรมการบริหารการศึกษาและภาวะผู้นำ. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ไมเคิล เจ. มาร์ควอดท์. (2554). การพัฒนาองค์การแห่งการเรียนรู้. [Building the learning organization (3rd edition)] แปลโดย กานต์สุดา มาฆะศิรานนท์. กรุงเทพมหานคร : เอ็กซเปอร์เน็ท. หน้า 55-67.

สำนักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ. (2561). แนวทางการประเมินคุณภาพการศึกษาของ สถานศึกษาตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561. สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. กรุงเทพมหานคร.

สำนักติดตามและประเมินผลการอาชีวศึกษา. (2565). รายงานผลการดำเนินงานของสถานศึกษาตามเป้าหมายและตัวชี้วัดของแผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2560 – 2579) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565, สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. กรุงเทพมหานคร. หน้า 15-18.

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2561). แนวทางการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2561. สำนักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ. กรุงเทพมหานคร. หน้า 1-3.

Krejcie, R. V. & Morgan, D. W., (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement. (30) (3). pp. 607-610.

ถนอมวรรณ ช่างทอง. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาและความเป็นองค์กรดิจิทัลของสถานศึกษา ในอำเภอท่าชนะ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 2. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ขวัญตา วงศ์ไชยรัตนกุล. (2558). แนวทางการพัฒนาสู่การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของวิทยาลัยนาฏศิลปเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

พิพัฒน์พงษ์ หมวกไธสง. (2559). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษากับการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 4. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.

ภิญญาพัชญ์ หนองหาญ. (2565). การดำเนินงานตามแผนพัฒนาการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2560–2579 ด้านการผลิตและพัฒนากำลังคนด้านอาชีวศึกษาเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสยาม.

สมพร ปานดำ. (2564). การจัดการอาชีวศึกษาที่ตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงของโลกอนาคต. วารสารวิชาการสถาบันการอาชีวศึกษาภาคใต้ 1. ปีที่ 6 ฉบับที่ 1. หน้า 9-22.