ทัศนคติของนักท่องเที่ยวไทยเจนเนอเรชั่น Z ที่มีต่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม อย่างยั่งยืน ในพื้นที่เทศบาลเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี Attitudes of Thai Generation Z Tourists toward Sustainable Cultural Tourism Phetchaburi Municipality, Phetchaburi Province

Main Article Content

เมทิกา พ่วงแสง

บทคัดย่อ

The objective of this research was to study the attitudes of Thai Generation Z tourists towards sustainable cultural tourism in the municipal area of Phetchaburi, Phetchaburi Province. The sample group used in this study consisted of 400 Gen Z tourists who had previously traveled to the municipal area of Phetchaburi. Data was collected through questionnaires and analyzed using pre-designed software, employing statistics such as percentages, means, standard deviations, and hypothesis testing through T-tests and One-Way ANOVA.


The study found that the attitude of Thai tourists towards sustainable cultural tourism in the municipal area of Phetchaburi, Phetchaburi Province, was the highest overall among Generation Z tourists. When considering opinions regarding the sustainable tourism concept in terms of cultural tourism in the municipal area of Phetchaburi, Phetchaburi Province, it was found to be the highest overall in terms of the environment, economy, and society/culture. The results of the hypothetical testing also revealed that the attitude of Thai tourists towards sustainable cultural tourism in the municipal area of Phetchaburi, Phetchaburi Province, was the highest overall. And the sample groups with different ages, occupations, socio-economic statuses, educational levels, and incomes had varied attitudes towards sustainable cultural tourism in the municipal area of Phetchaburi City, Phetchaburi Province, a statistically significant at the 0.05 level. However, the sample groups with different genders had no significant difference in their attitudes towards sustainable cultural tourism in the municipal area of Phetchaburi City, Phetchaburi Province.

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ชัยวุฒิ ชัยฤกษ์ ใบเฟิร์น วงษ์บัวงาม และจักรชัย ยิ้มงาม. (2564). พฤติกรรมการท่องเที่ยวโดยรถจักรยานยนต์: กรณีศึกษาผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์ในกรุงเทพมหานคร. วารสารศิลปศาสตร์ (วังนางเลิ้ง) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. ปีที่ 1 ฉบับที่ 1. 108-125.

ชัยยุทธ ถาวรานุรักษ์. (2564). ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว. อ่างทอง: วรศิลป์การพิมพ์ 89.

ธนัณชัย สิงห์มาตย์. (2555). วิกฤตหรือโอกาสการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับการก้าวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. [ออนไลน์]. [สืบค้นเมื่อวันที่ 8 เมษายน 2566]. จาก https://www.gotoknow.org/posts/500987.

ภคอัศม์ โปษะกฤษณะ. (2566). การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในชุมชนอย่างยั่งยืนภายหลังสถานการณ์ โควิด-19. วารสาร มจร.หริภุญชัยปริทรรศน์. ปีที่ 7 ฉบับที่ 2. 282-292.

Cochran, W.G. (1953). Sampling Techiques. New York : John Wiley & Sons. Inc.

Cronbach,L. J. (1951). “Coefficient Alphaand theInternalStructureofTests”. Psychometrika. 16(3), 297-334.

บุญชม ศรีสะอาด. (2560). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.

จีณัสมา ศรีหิรัญ, กมนภา หวังเขื่อนกลาง, รวิภา ในเถา, สมศักดิ์ ตลาดทรัพย์. (2563). การจูงใจนักท่องเที่ยวเจเนอเรชันแซดด้วยองค์ประกอบทางการท่องเที่ยว เพื่อเข้าร่วมประเพณีฮีตสิบสองใน จังหวัดขอนแก่น. วารสารบัณฑิตแสงโคมคา ปีที่ 5 ฉบับที่ 1. 32 – 50.

Marketeer. (2019). [ออนไลน์]. ธุรกิจท่องเที่ยวว่าไง เด็กไทยนิยมเที่ยวเชิงอนุรักษ์มากขึ้น. [สืบค้นเมื่อวันที่ 26พฤษภาคม 2566]. จาก https://marketeeronline.co/archives/115375

พงศ์เสวก อเนกจำนงค์พร. (2565). แรงจูงใจในการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของประชากรรุ่นแซด

วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 . 280-294.

SCB Economic Intelligence Center. (2565). [ออนไลน์]. ส่องพฤติกรรม นักท่องเที่ยวแต่ละสาย.[สืบค้นเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2566]. จาก https://www.scbeic.com/th/detail/file/product/8602/getdypugcp/EIC-In-Focus_Consumer-survey-report_Travel-Part-2_20221026.pdf

เสรี วงษ์มณฑา. (2564). การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ : นวัตกรรมการเคลื่อนขยับของการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม. วารสารศิลปศาสตร์ (วังนางเลิ้ง) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. ปีที่ 1 ฉบับที่ 1. 1-24.