ชุดฝึกอบรมการประยุกต์ใช้งานไมโครคอนโทรลเลอร์ MICROCONTROLLER TRANING KIT
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ1) พัฒนาชุดฝึกอบรมการประยุกต์ใช้งานไมโครคอนโทรลเลอร์ และ2) เพื่อหาคุณภาพของชุดฝึกอบรมการประยุกต์ใช้งานไมโครคอนโทรลเลอร์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ในครั้งนี้ประกอบด้วยแผงอุปกรณ์สำหรับการทดลอง ใบงานการทดลอง 7 ใบงาน และแบบประเมินคุณภาพ โดยประเมินคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 10 ท่านซึ่งเป็นบุคลากรทางด้านอาชีวศึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี จำนวน 30 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า การประเมินคุณภาพ ชุดฝึกอบรมการประยุกต์ใช้งานไมโครคอนโทรลเลอร์ ด้านใบงานการทดลองมีคุณภาพอยู่ในระดับดี ( = 4.47, S.D. = 0.18) และด้านแผงอุปกรณ์สำหรับการทดลอง มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก ( = 4.52, S.D. = 0.14) และในภาพรวมพบว่า ชุดฝึกอบรมการประยุกต์ใช้งานไมโครคอนโทรลเลอร์มีคุณภาพอยู่ในระดับดี ( = 4.49, S.D. = 0.04) ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้
Abstract
The purposes of this research were 1) to develop a micro-controller application training kit, and, 2) to find out the quality of the micro-controller application training lit. The research tools included a panel of equipment for the experiment, 7 experimental worksheets and a quality assessment form being assessed by 10 experts who were vocational education personnel. The sample group consisted of 30 undergraduate students. The statistics used in data analysis included percentages, means, and standard deviations. The research results found that about the quality assessment, the quality of the experimental worksheets was at a good level (= 4.47, S.D. = 0.18) and the equipment panels for the experiments were of good quality (= 4.47, S.D. = 0.18). The quality was at a very good level (= 4.52, S.D. = 0.14) and overall it was found that In overall, the quality of the microcontroller application training kit was good (= 4.49, S.D. = 0.04), which was in line with the set assumptions.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
Boris Sullivan. (2018). Thailand ranks 38th in revamped Global Competitiveness Index. Retrieved February 22, 2021, from https:// bit.ly/3bf1Jdi
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) (2560). Thailand 4.0 โมเดลขับเคลื่อนประเทศไทยสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน. (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: กองบริหารงานวิจัยและประกันคุณภาพการศึกษา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. (2563). โครงการพัฒนาทักษะกำลังคนของประเทศหรือ Re-skill, Up-Skill, และ New-skill. ค้นเมื่อ กุมภาพันธ์ 22, 2564, จากhttps://www.mhesi.go.th/index.php /news/1628-mou-19-covid-19-8-14.html
วัลลภ จันทร์ตระกูล. (2543). สื่อการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
สุวิทย์ อัฐกุลชัย. (2560). ชุดทดลองไมโครคอนโทรล เลอร์ ARM Cortex M0 โปรแกรมโดย MATLAB Simu link. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าสื่อสาร. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
นคร ภักดีชาติ. (2553). ปฏิบัติการไมโครคอนโทรล เลอร์ ARM Cortex-M3 กับ STM32. กรุงเทพฯ: อินโนเวตีฟ เอ็กเพอริเม้น.
ธีรวัฒน์ ประกอบผล. (2554). ดิจิทัลอิเล็กทรอนิกส์. กรุงเทพฯ: Top Publishing.
ไพฑูรย์ บุญใส. (2551). การสร้างและทดสอบประสิทธิ ภาพชุดอบรม เรื่อง การออกแบบ PCB ด้วยโปรแกรม Protel DXP 2004. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชาไฟฟ้า. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
บริษัท เอสที อิเล็กทรอนิกส์ จำกัด. (2563). ตัวอย่างระบบที่พัฒนา. ค้นเมื่อ กุมภาพันธ์ 22, 2564, จาก https://www.st.com/content/st_com/ en/search.html#q=STM32F429-t=tools-page=1
Best John W. (1997). Research in Education. 3rd ed. Englewood Cliffs. New Jersey: Prentice Hall, Inc.
สิทธิชัย อินทร์มั่ง. (2558). ชุดฝึกอบรมเฮลิคอป เตอร์แบบสี่ใบพัด. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์อุตสาห กรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
จิรวัฒน์ แสงคุณธรรม. (2560). ชุดฝึกอบรมเรื่องอินเทอร์เน็ตสำหรับสรรพสิ่ง.วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง