การรับรู้คุณภาพชีวิตส่งผลต่อความสุขของคนวัยทำงานกลุ่มเจเนอเรชันวาย The perceptions of quality of life’s impact on the happiness of Generation Y workers

Main Article Content

ธารทิพย์ พจน์สุภาพ
อรทัย วานิชดี
รุ่งอรุณ กระแสร์สินธุ์
อาจารีย์ ประจวบเหมาะ

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิตและความสุขของคนวัยทำงานกลุ่มเจเนอเรชันวาย และ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยคุณภาพชีวิตที่ส่งผลต่อความสุขของคนวัยทำงานกลุ่มเจเนอเรชันวาย กลุ่มตัวอย่างเป็นประชากรวัยทำงานในกรุงเทพมหานคร จำนวน 515 คน ที่มีอายุระหว่าง 25 ถึง 44 ปี การรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถามที่มีค่าความเชื่อมั่น 0.926 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสมมติฐานใช้การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า 1) ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 27 ถึง 34 ปี เป็นโสด และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 25,000 บาทหรือน้อยกว่า 2) คะแนนคุณภาพชีวิตของผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสี่ด้านและคะแนนคุณภาพชีวิตโดยรวม อยู่ในระดับดี มีความสุขอยู่ในระดับปานกลาง โดยร้อยละ 28.35 ระบุว่ามีความสุขสูง ร้อยละ 41.94 ระบุว่ามีความสุขปานกลาง และร้อยละ 29.71 มีความสุขต่ำกว่า 3) คุณภาพชีวิตส่งผลเชิงบวกต่อความสุขของคนวัยทำงานกลุ่มเจเนอเรชันวายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ปัจจัยด้านความสัมพันธ์ทางสังคม มีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับสูงที่สุด (Beta = 0.280) รองลงมาคือ สุขภาพกาย (Beta = 0.218) สภาพแวดล้อม (Beta = 0.186) และสุขภาพจิต (Beta = 0.170) ตามลำดับ

Article Details

How to Cite
พจน์สุภาพ ธ., วานิชดี อ., กระแสร์สินธุ์ ร., & ประจวบเหมาะ อ. (2024). การรับรู้คุณภาพชีวิตส่งผลต่อความสุขของคนวัยทำงานกลุ่มเจเนอเรชันวาย: The perceptions of quality of life’s impact on the happiness of Generation Y workers. วารสารวิจัยและนวัตกรรม สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร, 7(1), 38–53. สืบค้น จาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/ivebjournal/article/view/268719
บท
บทความวิจัย
Author Biography

อาจารีย์ ประจวบเหมาะ, คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

อาจารย์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

References

Helliwell, J. F., Layard, R., Sachs, J. D., Aknin, L. B., De Neve, J.-E., & Wang, S. (2023). [Online]. World Happiness Report 2023. [Retrieved June 1, 2023]. from https://worldhappiness.report/ed/2023/

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2561). [ออนไลน์]. ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561–2580 (ฉบับย่อ). [สืบค้นเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2566]. จาก https://www.nesdc.go.th/download/document/ SAC/NS_SumPlanOct2018.pdf

อัฐถศาสตร์ ผดุงพันธุ์ และรชฏ ขำบุญ. (2564). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อเฟอร์นิเจอร์และของแต่งบ้านของกลุ่ม GenY ในกรุงเทพฯ และปริมณฑล. วารสารบัณฑิตวิทยาลัย, 9(2), 1–13.

สุรินทร์ มีลาภล้น และเยาวลักษณ์ มีบุญมาก. (2565). ความสุขและคุณภาพชีวิตในสถานการณ์โรคระบาดโควิด-19 ของนักศึกษาพยาบาลวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ราชบุรี. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุพรรณบุรี, 5(1), 67–78.

Anjara, S. G., Nellums, L. B., Bonetto, C., & Van Bortel, T. (2017). Stress, health and quality of life of female migrant domestic workers in Singapore: a cross-sectional study. BMC women's health, 17(1), 1–13.

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2565). [ออนไลน์]. ผลิตภัณฑ์ภาคและจังหวัด แบบปริมาณลูกโซ่ ฉบับ พ.ศ. 2564. [สืบค้นเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2566]. จาก https://www.nesdc.go.th/ewt_dl_link. php?nid=12388&filename=gross_regional

Bilheem, N. (2016). The scope of quality of life of the people affected by the unrest in the three Southern border provinces: a case study of Raman District, Yala Province. Master of Science in ealth System Management, Prince of Songkhla University.

Rattanawongsa, J. (2018). Factors affecting quality of life of people in the area of Khwao Sub-district Muang Mahasarakham. Master of Public Administration (Public and Private Management), ajabhat Maha Sarakham University.

Jadesadalug, V., & Pienvimungsa, S. (2018). Quality of life of the elderly in Don Seng Village, Bang Pae Sub-district, Bang Phae District, Ratchaburi. Veridian E-Journal,Silpakorn University, 11(1), 3144–3156.

Ferdiana, A., Post, M., King, N., Bultmann, U., & Van der Klink, J. (2018). Meaning and components of quality of life among individuals with spinal cordinjury in Yogyakarta Province, Indonesia. isability and Rehabilitation, 40(10), 1183–1191.

Oishi, A., & Diener, E. (2014). Residents of poor nations have a greater sense of meaning in life than residents of wealthy nations. Psychological Science, 25(2), 422–430.

Medvedev, O. N., & Landhuis, C. E. (2018). Exploring constructs of well-being, happiness and quality of life. PeerJ, 6, 1–16.

Fagan, A. (2022). [Online]. A Key Component of a Happy Life. [Retrieved August 9, 2023]. from https://www.psychologytoday.com/intl/blog/meditation-modern-life/202209/key-component- happy-life

อภิชัย มงคล, ทวี ตั้งเสรี, พิเชษฐ์ ตั้งอุดมรัตน์, วัชนี หัตถพนม, ภัสรา เชษฐ์โชติศักดิ์, วราวรรณ จุฑา และระพีพร แก้วคอนไทย. (2547). รายงานการวิจัยการพัฒนาและทดสอบดัชนีชี้วัดสุขภาพจิตคนไทยฉบับใหม่. ขอนแก่น:

โรงพิมพ์พระธรรมขันธ์.

Mahakud, I. G., & Yadav, R. (2015). Effects of Happiness on Mental Health. The International Journal of Indian Psychology, 2(3) 106–114.

พัชสิรี ชมพูคำ และณัฐธิดา จักรภีร์ศิริสุข. (2563). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจและแรงจูงใจในการทำงาน: กรณีศึกษาเปรียบเทียบคนเจเนอเรชัน Y และเจเนอเรชัน Z ในเขตกรุงเทพมหานคร. จุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทัศน์, 42(3), 1–18.

Dimock, M. (2019). [Online]. Defining generations: Where Millennials end and Generation Z begins. [Retrieved August 9, 2023]. from https://www.pewresearch.org/short-reads/2019/01/17/where- millennials-end-and-generation-z-begins/

Mongkolsiri, S. (2005). Powergens Branding. Bangkok: BrandAgebooks.

Dharma, N. (2010). [Online]. Gen B, gen X, gen Y: The power of generation. [Retrieved July 20, 2023]. from http://guru-marketing-Thailand.blogspot.com/2009/05gen-b-genx-gen-y-power-of- generation.html.

กระทรวงสาธารณสุข. (2566). [ออนไลน์]. ประชากรทะเบียนราษฎร์วัยทำงาน (อายุ 15-59 ปี) จำแนกรายเพศ ปีงบประมาณ 2566 รวมทุกเขต. [สืบค้นเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2566]. จาก http://dashboard.anamai. moph.go.th/population/pop-workingage

สุวัฒน์ มหัตนิรันดร์กุล, วิระวรรณ ตันติพิวัฒนสกุล, วนิดา พุ่มไพศาลชัย, กรองจิตต์ วงศ์สุวรรณ และราณี พรมานะรังกุล. (2545). เครื่องมือวัดคุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลก ชุดย่อฉบับภาษาไทย. เชียงใหม่: โรงพยาบาลสวนปรุง.

อภิชัย มงคล, ยงยุทธ วงศ์ภิรมย์ศานติ์, ทวี ตั้งเสรี, วัชนี หัตถพนม, ไพรวัลย์ ร่มซ้าย และวรวรรณ จุฑา. (2552). [ออนไลน์]. การพัฒนาและทดสอบดัชนีชี้วัดสุขภาพจิตคนไทย (Version 2007). [สืบค้นเมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2566]. จาก https://dmh.go.th/test/download/files/TMHI15_thai.pdf

Novianti, L. E., Wungu, E., & Purba, F. D. (2020). Quality of Life as a Predictor of Happiness and Life Satisfaction. Jurnal Psikologi, 47(2), 93–103.

Pengpid S., & Peltzer, K. (2019). Sedentary behaviour, physical activity and life satisfaction, happiness and perceived health status in university students from 24 countries. International journal of environmental research and public health, 16(2084), 1–7.

พิทักษ์ ทองอยู่. (2564). แนวทางการสร้างความสุขในการทำงานเพื่อธำรงรักษาบุคลากรในยุคหลัง Covid-19 กรณีศึกษาบริษัท ABC จำกัด. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

Markevych, I., Schoierer, J., Hartig, T., Chudnovsky, A., Hystad, P., Dzhambov, A. M., de Vries, S., Triguero-Mas, M., Brauer, M., Nieuwenhuijsen, M. J., Lupp, G., Richardson, E. A., Astell-Burt, T., Dimitrova, D., Feng, X., Sadeh, M., Standl, M., Heinrich, J., Fuertes, E. (2017). Exploring pathways linking greenspace to health: Theoretical and methodological guidance. Environmental Research. Oct(158), 301–317.

Ortiz-Ospina, E., & Roser, M. (2013). [Online]. Happiness and Life Satisfaction. [Retrieved October 15, 2023]. From https://ourworldindata.org/happiness-and-life-satisfaction

Çakiroglu, A. (2007). Relationship between quality of life and happiness in turkey. Master of Social Sciences. Middle East Technical University.

Rahayu, T. P. (2016). Determinan kebahagiaan di Indonesia. Jurnal Ekonomi dan Bisnis, 19(1), 149– 170.

Hart, A. (2021). The link between mental stability & happiness. [Retrieved October 19, 2023]. From https://www.happycounts.org/blog/the-link-between-mental-stability-happiness