การสร้างโปรแกรมระบบตรวจสอบการเข้าปฏิบัติงานพนักงานฝ่ายผลิต บริษัทไทสัน โพลทรี่ (ไทยแลนด์) จำกัด จังหวัดนครนายก
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างโปรแกรมระบบตรวจสอบการเข้าปฏิบัติงานพนักงานฝ่ายผลิตบริษัทไทสัน โพลทรี่(ไทยแลนด์) จำกัด จังหวัดนครนายก 2) ศึกษาความพึงพอใจของผู้เข้าใช้โปรแกรมระบบตรวจสอบการเข้าปฏิบัติงานพนักงานฝ่ายผลิต บริษัท ไทสัน โพลทรี่ (ไทยแลนด์) จำกัด จังหวัดนครนายก เป็นการวิจัยแบบทดลอง ประชากรและกลุ่มตัวอย่างคือผู้บริหาร หัวหน้างานแผนกฝ่ายผลิต เจ้าหน้าที่ และ พนักงานจัดทำเอกสาร บริษัทไทสัน โพลทรี่(ไทยแลนด์) จำกัด จังหวัดนครนายกจำนวน 25 คน การรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. โปรแกรมระบบตรวจสอบการเข้าปฏิบัติงานพนักงานฝ่ายผลิต บริษัทไทสัน โพลทรี่ (ไทยแลนด์) จำกัด จังหวัดนครนายก ได้ถูกต้องตามความเหมาะสมกับงาน ในระดับมากที่สุด 2. ความพึงพอใจของผู้เข้าใช้งานระบบตรวจสอบการเข้าปฏิบัติงานพนักงานฝ่ายผลิต บริษัทไทสัน โพลทรี่ (ไทยแลนด์) จำกัด จังหวัดนครนายก อยู่ในระดับมากที่สุด (
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างโปรแกรมระบบตรวจสอบการเข้าปฏิบัติงานพนักงานฝ่ายผลิตบริษัทไทสัน โพลทรี่(ไทยแลนด์) จำกัด จังหวัดนครนายก 2) ศึกษาความพึงพอใจของผู้เข้าใช้โปรแกรมระบบตรวจสอบการเข้าปฏิบัติงานพนักงานฝ่ายผลิต บริษัท ไทสัน โพลทรี่ (ไทยแลนด์) จำกัด จังหวัดนครนายก เป็นการวิจัยแบบทดลอง ประชากรและกลุ่มตัวอย่างคือผู้บริหาร หัวหน้างานแผนกฝ่ายผลิต เจ้าหน้าที่ และ พนักงานจัดทำเอกสาร บริษัทไทสัน โพลทรี่(ไทยแลนด์) จำกัด จังหวัดนครนายกจำนวน 25 คน การรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. โปรแกรมระบบตรวจสอบการเข้าปฏิบัติงานพนักงานฝ่ายผลิต บริษัทไทสัน โพลทรี่ (ไทยแลนด์) จำกัด จังหวัดนครนายก ได้ถูกต้องตามความเหมาะสมกับงาน ในระดับมากที่สุด 2. ความพึงพอใจของผู้เข้าใช้งานระบบตรวจสอบการเข้าปฏิบัติงานพนักงานฝ่ายผลิต บริษัทไทสัน โพลทรี่ (ไทยแลนด์) จำกัด จังหวัดนครนายก อยู่ในระดับมากที่สุด (
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างโปรแกรมระบบตรวจสอบการเข้าปฏิบัติงานพนักงานฝ่ายผลิตบริษัทไทสัน โพลทรี่(ไทยแลนด์) จำกัด จังหวัดนครนายก 2) ศึกษาความพึงพอใจของผู้เข้าใช้โปรแกรมระบบตรวจสอบการเข้าปฏิบัติงานพนักงานฝ่ายผลิต บริษัท ไทสัน โพลทรี่ (ไทยแลนด์) จำกัด จังหวัดนครนายก เป็นการวิจัยแบบทดลอง ประชากรและกลุ่มตัวอย่างคือผู้บริหาร หัวหน้างานแผนกฝ่ายผลิต เจ้าหน้าที่ และ พนักงานจัดทำเอกสาร บริษัทไทสัน โพลทรี่(ไทยแลนด์) จำกัด จังหวัดนครนายกจำนวน 25 คน การรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. โปรแกรมระบบตรวจสอบการเข้าปฏิบัติงานพนักงานฝ่ายผลิต บริษัทไทสัน โพลทรี่ (ไทยแลนด์) จำกัด จังหวัดนครนายก ได้ถูกต้องตามความเหมาะสมกับงาน ในระดับมากที่สุด 2. ความพึงพอใจของผู้เข้าใช้งานระบบตรวจสอบการเข้าปฏิบัติงานพนักงานฝ่ายผลิต บริษัทไทสัน โพลทรี่ (ไทยแลนด์) จำกัด จังหวัดนครนายก อยู่ในระดับมากที่สุด (=4.82, S.D.=0.21)
=4.82, S.D.=0.21)
=4.82, S.D.=0.21)
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
References
Amornrat Uamanasakul. (2566). ลงมือจริงกับ Google Apps Script. https://km.cc.swu.ac.th/archives/4658.
ซูฟียัน แวดือรามัน. (2561). แอพพลิเคชั่นเช็คชื่อกิจกรรมการเข้าแถวหน้าเสาธงของนักศึกษา
วิทยาลัยเทคนิคจุฬาภรณ์ (ลาดขวาง).
วสันต์ คุณดิลกเศวต (2564). หลักการเขียนโปรแกรม Google Apps Script. https://anyflip.com/suajr/dbuf/basic.
ประณมกร อัมพรพรรดิ์ และพลฤทธิ์ อ้อมชมภู. การพัฒนาแอปพลิเคชันติดตามการเข้าออก ของพนักงานในสถานประกอบการ กรณีศึกษา บริษัท ควอลิตี้คอนสตรัคชั่นโปรดัคส์จำกัด. สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ปทุมธานี
โอภาส เอี่ยมสิริวงค์. (2566). การวิเคราะห์และออกแบบระบบ. ครั้งที่1/2566. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์
ซีเอ็ด.