A study of scientific concepts in chemistry among Mathayomsuksa 5 students, Mattayom Puranawat School on the topic of acids and bases by conducting class with experimental sets
Main Article Content
Abstract
This research aims to 1) develop and conduct an efficiency test of experimental sets on acids and bases, 2) compare students’ scientific concepts of acids and bases before and after learning using the experimental sets, and 3) study the students’ post-learning experimental skill level on acids and bases using the experimental sets. This research was the experimental research. Simple random sampling was used to select 36 students from Mathayomsuksa 5 at Puranawat High School in the first semester of the 2022 academic year. The research instruments included 1) learning management plans for chemistry 4 subjects on the topic of acids and bases, 2) the acid-base experimental sets, 3) a scientific conceptual test on acids and bases, and 4) an experimental skill test on acids and bases. Statistics used in data analysis included mean, percentage, standard deviation, and comparing means with the 80/80 criterion. To analyze and compare scientific concepts between pre- and post-learning, mean, standard deviation, and dependent sample t-tests were used. To analyze and compare post-experimental skills with constant values, mean, standard deviation, and one sample t-tests were used.
The results showed that 1) the efficiency of the acid-base experimental set was 82.52/82.22, which was higher than the standard criteria set. Students’ scientific concepts of acids and bases after learning ( =24.08, S.D.=2.38) were higher than those before ( =11.06, S.D.=2.89) with statistical significance at the .05 level. After conducting the experimental sets on acids and bases, the mean experimental skill level ( =7.84) was higher than the constant 7.20, indicating good proficiency and statistical significance at the .05 level.
Article Details
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
ณรงศักดิ์ รัตนพันธ์. (2564). การส่งเสริมความเข้าใจเรื่องปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีในระดับจุลภาคของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้การทดลองเป็นฐานร่วมกับสื่อแบบจำลอง. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ. 21 (2), 32-48.
ทิศนา แขมมณี. (2545). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธีระ อินทร์สว่าง. (2561). การพัฒนาชุดทดลองกิจกรรมการแสดงทางวิทยาศาสตร์เรื่อง ปฏิกิริยาเคมีด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. การค้นคว้าอิสระ หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
นพพร ธนะชัยขันธ์. (2552). สถิติเบื้องต้นสำหรับการวิจัย. กรุงเทพมหานคร: บริษัทวิทยพัฒน์ จำกัด.
นภาพร เทียมทะนง. (2563). การพัฒนามโนมติของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 2 ด้วยชุดการทดลองอย่างง่ายเรื่องโมเมนต์ของแรง. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
พิชมญล์ สินประเสริฐรัตน์ และคณะ. (2565). การพัฒนาบทปฏิบัติการวิทยาศาสตร์แบบย่อส่วน เรื่อง กรด-เบสสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 24 (1), 200-211.
พิมพ์ขวัญ สังข์ทอง. (2563). การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4โดยใช้ชุดกิจกรรมปฏิบัติการทดลองเรื่อง สมบัติของธาตุและสารประกอบ. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ. 14 (2), 12-28.
พิรภูมิ สิงห์สถิตย์ และทรงศักดิ์ ภูสีอ่อน. (2565) การพัฒนาความเข้าใจมโนมติทางวิทยาศาสตร์ โดยการจัดการเรียนรู้ด้วยวัฏจักรการเรียนรู้แบบสืบเสาะ 5 ขั้น ร่วมกับแผนผังมโนมติเรื่อง กรด-เบส สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. 16 (1), 198-199.
ภัทราวรรณ ศุภเลิศ. (2562). การพัฒนาชุดการทดลองโดยอาศัยระบบของไหลจุลภาคที่ประดิษฐ์มาจากกระดาษเพื่อส่งเสริมความเข้าใจมโนมติ เรื่องการไทเทรตกรด–เบส. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตร มหาบัณฑิต. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
รัตนาภรณ์ กุลด้วง. (2561). การพัฒนามโนมติ เรื่อง ไฟฟ้าเคมีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนคูเมืองวิทยาอำเภอหนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ โดยใช้ชุดทดลอง. การค้นคว้าอิสระ หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
วิจิตรา ป้องสีดา. (2561). การศึกษาประสิทธิภาพของชุดทดลองและมโนมติทางการเรียนเรื่องการเคลื่อนที่แบบวงกลมด้วยอัตราเร็วคงตัว ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะแสวงหาความรู้ 5 ขั้นตอน (5E). การค้นคว้าอิสระ หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย:มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ศิริวรรณ ฉัตรมณีรุ่งเจริญ และอนิต้า หล้าจิ. (2563). การพัฒนามโนมติทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้โดยใช้เทคโนโลยีผ่านไอแพดในเรื่องกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาบนผิวโลก. วารสารศึกษาศาสตร์ปริทัศน์. 35 (3), 57-71.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2546). คู่มือการวัดผลประเมินผลวิทยาศาสตร์. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 18 พฤศจิกายน 2565. แหล่งที่มา : http://sa.ipst.ac.th/?page_id=791.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2562). หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมวิทยาศาสตร์ เคมีชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 4. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Krejcie, R. V. and Morgan, D. W. (1970). Determining sample sizes for research activities.
Educational and Psychological Measurement. 30, 607-610.