คหกรรมศาสตรศึกษาและการสร้างสมรรถนะผู้เรียนในอนาคต
Main Article Content
บทคัดย่อ
แนวทางการจัดการเรียนการสอนคหกรรมศาสตร์เพื่อสร้างสมรรถนะผู้เรียนในอนาคต ทั้งระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับอาชีวศึกษา และระดับอุดมศึกษา ให้สอดคล้องกับแผนการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2560 - 2579 ซึ่งได้กำหนดจุดมุ่งหมายในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะและสมรรถนะในศตวรรษที่ 21 กรอบการพัฒนาผู้เรียนคหกรรมศาสตร์ในอนาคต ประกอบด้วย 1) หลักสูตรที่
มุ่งเสริมสร้างสมรรถนะผู้เรียน ในด้านความคิดสร้างสรรค์ คุณธรรม การจัดการ และการคิดวิเคราะห์ 2) การจัดการเรียนการสอนที่สร้างสมรรถนะ เน้นความยืนหยุ่น ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม มีประสบการณ์ตรง 3) ผู้สอน ต้องมีสมรรถนะด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการพัฒนาหลักสูตร ด้านการวิจัย ด้านการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และการจัดการเรียนการสอนที่สร้างบรรยกาศเชิงบวกในชั้นเรียน 4) ผู้เรียน สามารถเป็นนักปฏิบัติด้านคหกรรมศาสตร์ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล
ใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม ทั้งนี้การพัฒนาและการนำหลักสูตรไปใช้ต้องคำนึงถึงสมรรถนะผู้เรียนในแต่ละระดับชั้น ความมุ่งหมายของ การจัดการศึกษา ขอบข่ายการจัดการศึกษาด้านคหกรรมศาสตร์ และระดับการศึกษาของหลักสูตรเพื่อสร้างสมรรถนะผู้เรียนในอนาคตที่ตรงกับความต้องการของสังคมมากขึ้น
Article Details
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
กุลขณิษฐ์ ราเชนบุณยวัทน์. (2553). คหกรรมศาสตร์เพื่อชีวิต. กรุงเทพมหานคร: เม็ดทรายพริ้นติ้ง.
ทัศนา เมฆเวียน. (2549). วิวัฒนาการของหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนคหกรรมศาสตร์ระดับอุดมศึกษา ในสมัยรัตนโกสินทร์. ดุษฎีนิพนธ์สาขาวิชาอุดมศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นนทลี พรธาดาวิทย์. (2545). วิถีคหกรรมศาสตร์ในประเทศไทย : บทสะท้อนวิสัยทัศน์และกระบวนทัศน์จากปัจจุบันสู่อนาคต. ดุษฎีนิพนธ์. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
นนทลี พรธาดาวิทย์ และอมรรัตน์ อนันต์วราพงษ์. (2551). การพัฒนาภาพลักษณ์คหกรรมศาสตร์ในสังคมไทย. คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม. ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
นิกูล ชุ่มมั่น และคณะ. (2563). อุตสาหกรรมศึกษาและการเสริมสร้างสมรรถนะผู้เรียน. วารสารวิชาการอุตสาหกรรมศึกษา. 14 (2), 60-74.
ประเชิญ ครูไพศาล. (2537). วิชาชีพคหกรรมศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: อมรการพิมพ์.
ประยูร บุญใช้. (2564). การพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างสมรรถนะการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 สำหรับครูประถมศึกษา. วารสารพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิต. 15 (1), 118-137.
มณี โกสุมาศ. (2540). พฤติกรรมการสอนคหกรรมศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: สถาบันราชภัฏสวนดุสิต.
มานะ สินธุวงษานนท์. (2562). กลยุทธ์การพัฒนาผู้เรียนสู่ความเป็นพลเมืองในศตวรรษที่ 21. วารสารนาคบุตรปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช. 11 (2), 118-129.
ระพีพัฒน์ หาญโสภา และคณะ. (2563). การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 : ทฤษฎีสู่การปฏิบัติวารสารวิชาการธรรมทรรศน์. 20 (2), 163-172.
สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์กรมหาชน). (2562). นิยามศัพท์. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 4 มกราคม 2565. แหล่งที่มา: http://www.rpqthailand.com/define.php.
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2562). หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 7 มกราคม 2565. แหล่งที่มา: https://bsq.vec.go.th
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2557). กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 7 มกราคม 2565. แหล่งที่มา: http://www.mua.go.th/users/tqfhed/news/data6 /Bachelor%20of%20Science%20(Home%20Economics).PDF
สำนักงานบริหารการมัธยมศึกษาตอนปลาย. (2560). แนวทางการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. ออนไลน์.สืบค้นเมื่อ 4 มกราคม 2565. แหล่งที่มา: https://webs.rmutl.ac.th/assets/upload/files/ 2016/09/ 20160908101755_51855.pdf
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.
อมรรัตน์ อนันต์วราพงษ์. (2548). ทฤษฎีสู่การปฏิบัติ : หลักสูตรคหกรรมศาสตร์ระดับอุดมศึกษา. ดุษฎีนิพนธ์สาขาวิชาอาชีวศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
Bualamyai, S. (1993). The Re-conceptualization of The Well-Being of Individuals and Families in Home Economics Education: Historical and Critical Research into The Ongoing Growth of Home Economics Education in Thailand. Dissertation Abstract International. Pennsylvania: The Pennsylvania State University.
East, M. (1980). Home Economics: Past, Present and Future. Boston: Allyn and Bacon, Inc.
Parker, F. J. (1983). Home Economics : An Introduction to a Dynamijc Profession. (2nd ed.) New York: Macmillan Publishing Co., Inc.