ขีดความสามารถในการหารายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น: กรอบวิเคราะห์เบื้องต้น

Main Article Content

Weerasak Krueathep

Abstract

     เป้าหมายประการหนึ่งในการบริหารงานท้องถิ่นคือการที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมี ขีดความสามารถในการจัดหารายได้ที่เพียงพอสาหรับการจัดบริการสาธารณะตามความต้องการของชุมชน ได้อย่างต่อเนื่องF1 อย่างไรก็ตาม บ่อยครั้งที่เราพบว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจานวนมากไม่สามารถจัดเก็บรายได้ให้เต็มเม็ดเต็มหน่วย สาเหตุหนึ่งอาจเป็นเพราะกิจกรรมทางเศรษฐกิจในท้องถิ่นมีจานวนจากัด จึงส่งผลให้ฐานภาษีท้องถิ่นมีขนาดที่จากัดตามไปด้วย หรือในบางกรณี อาจเป็นเพราะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมิได้ใช้ความพยายามในการจัดเก็บภาษีท้องถิ่นมากเท่าใดนัก ซึ่งอาจเป็นผลสืบเนื่องมาจากการมีสัดส่วนรายได้จากเงินอุดหนุนเป็นจานวนมาก เนื่องมาจากการขาดแรงจูงใจทางการเมือง หรืออาจเนื่องมาจากการขาดระบบบริหารจัดเก็บภาษีท้องถิ่นที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

Article Details

How to Cite
krueathep, weerasak . (2020). ขีดความสามารถในการหารายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น: กรอบวิเคราะห์เบื้องต้น. King Prajadhipok’s Institute Journal, 6(1). Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/kpi_journal/article/view/244651
Section
Original Articles

References

จรัส สุวรรณมาลา. 2544. ระบบเงินโอนและเงินอุดหนุนสู่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น: รายงานการวิจัยโครงการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลังท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

จรัส สุวรรณมาลา. 2541. ศักยภาพทางการคลังขององค์การบริหารส่วนตำบล. กรุงเทพฯ: สถาบันนโยบายศึกษา.

จรัส สุวรรณมาลา. 2529. รายงานการวิจัยเรื่องความสามารถในการพึ่งตัวเองทางการคลังของเทศบาล. กรุงเทพฯ: คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์. 2550. “กฎหมายรายได้ให้ท้องถิ่นกับก้าวต่อไปของการกระจายอำนาจฯ.” มติชนรายวัน: คอลัมน์ดุลยภาพดุลยพินิจ. วันที่ 12 ธันวาคม 2550, หน้า 6.

ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์. 2549. การคลังท้องถิ่น: รวมบทความวิจัยเพื่อเพิ่มพลังให้ท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: พี เอ ลีฟวิ่ง.

วีระศักดิ์ เครือเทพ. 2550ก. “การเมืองว่าด้วยภาษีอากร: การเมืองว่าด้วยการจัดหารายได้ขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น,” รัฐศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ 41 ฉบับที่ 2 (มกราคม-มิถุนายน), หน้า 109-152.

วีระศักดิ์ เครือเทพ. 2550ข. คู่มือการเสริมสร้างสุขภาพทางการคลังขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. นนทบุรี: วิทยาลัยพัฒนาการปกครองท้องถิ่น สถาบันพระปกเกล้า.

วีระศักดิ์ เครือเทพ. 2548. การบริหารภาษีอากรและรายได้ของรัฐ. กรุงเทพฯ: โครงการผลิตตาราและเอกสารการสอน คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Advisory Commission on Intergovernmental Relations [ACIR]. 1962. Measures of State and Local Fiscal Capacity and Tax Effort. M16, Washington, D.C.

Bahl, Roy. 2000. Intergovernmental Transfers in Developing and Transition Countries: Principles and Practice. Washington, DC: World Bank, Urban and Local Government, Municipal Finance.

Bahl, Roy, Jamie Boex, and Jorge Martinez-Vazquez. 2001. The Designs and Implementation of Intergovernmental Fiscal Transfers. Atlanta, Georgia: Andrew Young School of Policy Studies, Georgia State University.

Burchell, Robert W., and David Listokin (eds). 1981. Cities Under Stress: The Fiscal Crises of Urban America. The Center for Urban Policy Research: Rutgers, The State University of New Jersey Press.

Clark, Terry N., and Ronald C. Ferguson. 1981. “Political Leadership and Urban Fiscal Policy,” in Urban Policy Analysis: Directions for Future Research. edited by Terry N. Clark. C.A.: Sage Publications. pp.81-101.

Fischel, William A. 2001. The Homevoter Hypothesis: How Home Values Influence Local Government Taxation, School Finance, and Land-Use Policies. MA: Harvard University Press.

Fischer, Ronald C. 2007. State and Local Public Finance. OH: Thompson Higher Education.

Hendrick, Rebecca. 2004. “Assessing and Measuring the Fiscal Health of Local Government: Focus on Chicago Suburban Municipalities,” Urban Affairs Review. 40 (1): pp.78-114.

Ladd, Helen F., and John Yinger. 1989. America’s Ailing Cities: Fiscal Health and the Design of Urban Policy. Baltimore, MD: Johns Hopkins University Press.

Miller, Gerald J. 2001. Fiscal Health in New Jersey’s Largest Cities. Newark, NJ, Cornwall Center Publication Series.

Reed, B.J., and John W. Swain. 1997. Public Finance Administration. C.A. SAGE Publication.

Rubin, Irene S. 1998. Class, Tax, and Power: Municipal Budgeting in the United States. NJ: Chatham House.

Shah, Anwar. 1996. “A Fiscal Need Approach to Equalization,” Canadian Public Policy. 22 (2): pp.99-115.

Schroeder, Larry, and Paul Smoke. 2002. “Intergovernmental Fiscal Transfers: Concepts, International Practice, and Policy Issues,” in Intergovernmental Fiscal Transfers in Asia: Current Practices and Challenges for the Future. edited by Paul Smoke and Yun-Hwan Kim. Manila, the Philippines: Asian Development Bank, 2002. pp.20-59.

Tiebout, Charles. 1956. “A Pure Theory of Local Expenditure,” Journal of Political Economy. 64: pp.416-424.

Webber, Carolyn, and Aaron Wildavsky. 1986. A History of Taxation and Expenditure in the Western World. NY: Simon and Schuster.

Yilmaz, Yesim, Sonya Hoo, Matthew Nagowski, Kim Rueben, and Robert Tannenwald. 2006. Measuring Fiscal Disparities across the U.S. States: A Representative Revenue System/Representative Expenditure System Approach Fiscal Year 2002. Occasional Paper Number 74, The Urban Institute. Washington, D.C.