Online Political Campaigns: A Case Study of the General Election in Three Southern Provinces of Thailand

Main Article Content

Ekkarin Tuansiri

Abstract

        Nowadays, social media is a part of people’s lives at all levels of society and in all aspects of life. In elections, Facebook is used as a medium to connect political parties and voters. In Thailand’s 2019 general election, the three biggest political parties that competed in the Deep South used this new media. This research found that the Future Forward party used Facebook for their online campaigns equally together with offline campaigns because they were brand-new and lacked constituents. Meanwhile, Pheu Thai and Prachachat party used Facebook as augmentation since they had roots in the area. Facebook has been used for political advertising because of its convenient functions to make attractive and simple content, so parties could select issues and tools to deliver their content.

Article Details

How to Cite
tuansiri, ekkarin. (2021). Online Political Campaigns: A Case Study of the General Election in Three Southern Provinces of Thailand. King Prajadhipok’s Institute Journal, 18(3), 36–57. Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/kpi_journal/article/view/246831
Section
Research Articles

References

ต่วนอิสกันดาร์ ดาโต๊ะมูลียอ. ผู้สมัครรับเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อพรรคประชาชาติและผู้ดูแลเพจพรรคประชาชาติ (ระดับกลาง). (2562, 10 กรกฎาคม). สัมภาษณ์.

ทวีศักดิ์ ปิ. ผู้สมัครรับเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อพรรคประชาชาติและผู้ดูแลเพจพรรคประชาชาติ ชายแดนใต้. (2562, 10 กรกฎาคม). สัมภาษณ์.

นภัส ตันติเสรี. (2556). อิทธิพลของการใช้เฟซบุ๊กเพื่อการหาเสียงที่มีผลต่อการลงคะแนนเสียงของประชาชน. (การค้นคว้าอิสระวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี, สาขาวิชาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ, กรุงเทพฯ.

บุรฉัตร พานธงรักษ์. (2555). การตลาดการเมืองพรรคเพื่อไทยและพรรคประชาธิปัตย์ในการเลือกตั้งทั่วไปวันที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554. (วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะรัฐศาสตร์, สาขาวิชาการปกครอง, กรุงเทพฯ.

ปานหทัย ตันติเตชา. (2546). การตลาดทางการเมือง: ศึกษาเฉพาะกรณีการใช้สื่อในการรณรงค์หาเสียงของพรรคไทยรักไทย เขตกรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะรัฐศาสตร์, สาขาวิชาการปกครอง, กรุงเทพฯ.

ปิยรัฐ โคตัน. ผู้ดูแลเพจอนาคตใหม่ปัตตานี-Future Forward Pattani. (2562, 26 กรกฎาคม). สัมภาษณ์.

พรรคประชาชาติ. (ม.ป.ป.) แผ่นพับแนะนำพรรคประชาชาติ. สืบค้นจาก https://bit.ly/2PrLF0C

พรรคอนาคตใหม่. (ม.ป.ป.) วิสัยทัศน์. สืบค้นจาก https://futureforwardparty.org

พรรคอนาคตใหม่. (2561). เพจ อนาคตใหม่ปัตตานี-Future Forward Pattani. สืบค้นจาก http://bit.ly/2qwInPd

พรรคอนาคตใหม่. (2562). เพจ อนาคตใหม่ปัตตานี-Future Forward Pattani. สืบค้นจาก http://bit.ly/2qwInPd

ยัสมิน โตะมีนา. ผู้ดูแลเพจพรรคเพื่อไทย ปัตตานี. (2562, 23 กรกฎาคม). สัมภาษณ์.

วรา วัฒนาจตุรพร. (2544). ความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทของอินเตอร์เน็ตในการสร้างความตื่นตัวทางการเมืองและพฤติกรรมการเปิดรับเนื้อหาข่าวสารการเมือง และการมีส่วนร่วมทางการเมืองบนอินเตอร์เน็ต: ศึกษาเฉพาะกรณีการเลือกตั้งทั่วไป วันที่ 6 มกราคม 2544. (วิทยานิพนธ์วารสารศาสตรมหาบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน, สาขาวิชาสื่อสารมวลชน, กรุงเทพฯ.

สุรชัย ชูผกา. (2555). ประสิทธิภาพในการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งระหว่างกลยุทธ์การตลาดทางการเมืองกับกลยุทธ์หัวคะแนนในระบบอุปถัมภ์ ศึกษากรณีการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550. (วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน, สาขาวิชาสื่อสารมวลชน, กรุงเทพฯ.

สุจิต บุญบงการ และพรศักดิ์ ผ่องแผ้ว. (2525). พฤติกรรมการเลือกตั้งของคนไทย: ศึกษาจากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2522. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุจิต บุญบงการ. (2527). พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งของคนไทย. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิจัย ฝ่ายวิจัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อภิชาต สถิตนิรามัย, ยุกติ มุกดาวิจิตร และนิติ ภวัครพันธุ์. (2556). ทบทวนภูมิทัศน์การเมืองไทย. เชียงใหม่: แผนงานสร้างเสริมนโยบายสาธารณะที่ดี สถาบันศึกษานโยบายสาธารณะ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

อภิศักดิ์ หะยีมะ. ผู้สมัครรับเลือกตั้งแบบแบ่งเขต ปัตตานีเขต 1 พรรคอนาคตใหม่. (2562, 15 กรกฎาคม). สัมภาษณ์.

อับดุลสุโก ดินอะ. (2561, กันยายน 17). วิเคราะห์การเปิดตัวพรรคประชาชาติ: ปรากฏการณ์ใหม่ในวง การเมืองและความท้าทาย!. มติชนสุดสัปดาห์. สืบค้นจาก https://www.matichonweekly.com/special-report/article_133660

เอกราช เจียมจุย. (2548). กลยุทธ์การสื่อสารในการรณรงค์เลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรปี พ.ศ. 2548 ของพรรคไทยรักไทยและพรรคประชาธิปัตย์. (วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, คณะนิเทศศาสตร์, กรุงเทพฯ.

Prajak Kongkirati. (2013). Bosses, bullets and ballots: Electoral violence and democracy in Thailand 1975-2011. (Doctor of Philosophy thesis) Australian National University, Department of Political and Social Change, School of International, Political, and Strategic Studies, Australia.