สุขภาวะของวัยรุ่น : กรอบมโนทัศน์และเครื่องมือประเมินทางจิตวิทยา

Authors

  • บุญโรม สุวรรณพาหุ
  • อรัญญา ตุ้ยคำภีร์
  • วรรณี แกมเกตุ

Abstract

Wellness in Adolescents: Conceptual Framework and Psychological Measures

Received: February 1, 2013                          Accepted: March 14, 2013

Abstract

This review paper aimed to examine the existing literature on adolescent wellness through the method of systematic review from the database of Chulalongkorn University’s library (http://library.car. chula.ac.th), electronic full articles (http://tdc.thailis.or.th), and data from related institutions or organizations. The key words applied to searching engines included “well-being” “wellness” and “wellness inventory”. Based on the inclusion criteria, 32 academic papers were included. Findings revealed that wellness was defined as holistic and multidimentional that an absence of illness and a state of well-being were both essential. Wellness referred to the presence of good physical health, positive mental health, and successful living as an individual with balanced mind, body, social, and spiritual existence. Theorists and researchers provided three main comprehensive view of the wellness literature the Wellness Model, the Wheel of Wellness, and the Buddhist Holistic Wellness. There were assessment tools of wellness: Perceived Wellness Survey (PWS), Five Factor Wellness Inventory (5F-Wel), Wellness Evaluation of Lifestyle (WEL Inventory), and Buddhist Holistic Wellness Scale.

 

Keywords: Wellness, Adolescents, Conceptual framework, Psychological measures

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนเอกสารและงานวิจัยเรื่องกรอบมโนทัศน์และเครื่องมือประเมิน      สุขภาวะในวัยรุ่น โดยใช้วิธีการทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบจากฐานข้อมูลของห้องสมุดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รวมทั้งแหล่งข้อมูลของหน่วยงานหรือสถาบันที่เกี่ยวข้อง โดยกำหนดคำสำคัญในการสืบค้น ได้แก่ “สุขภาวะ” และ “มาตรวัดสุขภาวะ” เป็นต้น ผลการศึกษาพบเอกสารที่ตรงตามเกณฑ์ 32 เรื่อง มีประเด็นสำคัญคือ สุขภาวะเป็นสภาวะที่บุคคลรับรู้ตนเองอย่างเป็นองค์รวมว่าตนมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง มีสุขภาพจิตที่ดีมีการดำรงชีวิตอย่างเป็นสุข สุขภาวะประกอบด้วยหลายมิติเชื่อมโยงกันอย่างสมดุลทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ การศึกษาแนวคิดและทฤษฎีสุขภาวะพบว่ามี 3 แนวคิดหลัก คือ โมเดลสุขภาวะ กงล้อของสุขภาวะ        สุขภาวะแบบองค์รวมแนวพุทธ สำหรับเครื่องมือได้แก่ มาตรวัดการรับรู้สุขภาวะ มาตรวัดสุขภาวะ 5 องค์ประกอบ การประเมินสุขภาวะตามรูปแบบการดำเนินชีวิต และมาตรวัดสุขภาวะแบบองค์รวมแนวพุทธ

 

คำสำคัญ : สุขภาวะ วัยรุ่น กรอบมโนทัศน์ มาตรวัดทางจิตวิทยา

 


Author Biographies

บุญโรม สุวรรณพาหุ

Doctoral Student  at Counseling Psychology Program, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University.

e-mail: sbunrome@hotmail.com. Tel.: 081-897-6709

อรัญญา ตุ้ยคำภีร์

Associate Professor at Faculty of Psychology, Chulalongkorn University

วรรณี แกมเกตุ

Associate Professor at Faculty of Education, Chulalongkorn University

Downloads

Published

2013-08-04

How to Cite

สุวรรณพาหุ บ., ตุ้ยคำภีร์ อ., & แกมเกตุ ว. (2013). สุขภาวะของวัยรุ่น : กรอบมโนทัศน์และเครื่องมือประเมินทางจิตวิทยา. The Periodical of Behavioral Science, 19(2). Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/BSRI/article/view/10736