The Causal Relationship Model Affecting Learning Adjustment Behavior of Computer Science Students
คำสำคัญ:
รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ, พฤติกรรมการปรับตัวในการเรียน, การเผชิญปัญหาเพื่อ การเปลี่ยนแปลงบทคัดย่อ
การวิจัยเชิงสหสัมพันธ์ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบจำลองโครงสร้างความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของพฤติกรรมการปรับตัวในการเรียนของนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ชั้นปีที่ 1 และ 2 ของมหาวิทยาลัยในกำกับรัฐ 5 แห่ง ในกรุงเทพมหานคร รวม 371 คน โดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิตามมหาวิทยาลัยและแบ่งตามสัดส่วนประชากร ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม ที่มีค่าความเชื่อมั่นอยู่ระหว่าง .849 ถึง .936 และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติลิสเรล ผลการวิจัยพบว่า 1) แบบจำลองโครงสร้างความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่พัฒนาขึ้นภายหลังจากการปรับแก้มีความกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ในระดับที่ยอมรับได้ (Chi-square () = 323.95, df = 117, p-value = .00, = 2.77, RMSEA = .069, GFI = 0.91, CFI = 0.98 และ NNFI = 0.97) ทั้งนี้ตัวแปรสาเหตุทั้งหมดสามารถร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของพฤติกรรมการปรับตัวในการเรียนได้ร้อยละ 56 และผลการทดสอบเส้นอิทธิพลพบว่า 2) ความคิดสร้างสรรค์และจิตวิญญาณมีอิทธิพลทางตรงต่อการเผชิญปัญหาแบบมุ่งที่อารมณ์ การเผชิญปัญหาแบบมุ่งที่ปัญหา ความหวัง ความหมายในชีวิต และการเห็นคุณค่าในตนเอง 3) การเผชิญปัญหาแบบมุ่งที่อารมณ์มีอิทธิพลทางตรงต่อความหมายในชีวิต 4) การเผชิญปัญหาแบบมุ่งที่ปัญหามีอิทธิพลทางตรงต่อความหวัง 5) การสนับสนุนทางสังคมในมหาวิทยาลัยมีอิทธิพลทางตรงต่อการเห็นคุณค่าในตนเอง และ 6) ความหวัง ความหมายในชีวิต การเห็นคุณค่าในตนเอง และการสนับสนุนทางสังคมในมหาวิทยาลัยมีอิทธิพลทางตรงต่อพฤติกรรมการปรับตัวในการเรียน
อย่างมีนัยสำคัญ
Downloads
References
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. วารสารวิชาการศิลปศาสตร์ประยุกต์, 2(1), 21-27.
นันทินี ศุภมงคล. (2547). ความวิตกกังวล การสนับสนุนทางสังคม และกลวิธีการเผชิญปัญหาของนิสิตนักศึกษา.
(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะจิตวิทยา, สาขาจิตวิทยาการปรึกษา.
พนิดา จันทรกรานต์. (2559). การศึกษาการเห็นคุณค่าในตนเองของนักศึกษาสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
เจ้าคุณทหารลาดกระบัง. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 15(2), 102-109.
พีรภาว์ ลิมปนวัสส์. (2549). ความเครียด การจัดการความเครียด และการปรับตัวของนิสิตนักศึกษามหาวิทยาลัย
ในเขตกรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,
คณะสังคมศาสตร์, สาขาจิตวิทยาชุมชน.
ไพรัช วงศ์ศรีตระกูล. (2554). ความเครียดและความวิตกกังวลของนักศึกษามหาวิทยาลัยธนบุรี.
วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี, 5(9), 23-32.
ภาสกร สวนเรือง, สุจิตรา จรจิตร, และช่อลดา พันธุเสนา. (2552). ภาวะเครียดปัจจัยที่ก่อให้เกิดความเครียด
และการจัดการความเครียดของนักศึกษาปริญญาตรี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่.
วารสารสงขลานครินทร์ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 15(2), 313-335.
มานพ ชูนิล, พิสมัย รักจรรยา, และชวนีย์ พงศาพิชณ์. (2550). วิธีการจัดการความเครียดของนักศึกษา
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. วารสารวิชาการเทคโนโลยีอุตสาหกรรม, 3(2), 42-51.
ระวีนันท์ รื่นพรต. (2553). ปัจจัยทำนายการปรับตัวของนักศึกษาระดับปริญญาตรี. (วิทยานิพนธ์ปริญญา
มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, คณะสังคมศาสตร์, สาขาจิตวิทยาชุมชน.
วราภรณ์ รัตนาวิศิษฐิกุล. (2545). ความหวังและกลวิธีการเผชิญปัญหาของนักศึกษา. (วิทยานิพนธ์
ปริญญามหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะจิตวิทยา, สาขาจิตวิทยาการปรึกษา.
รวมพร สิทธิมงคล, อังคาร สาเหล้, วิมลมาศ โสธรศักดิ์, และสุธิดา โพธิ์พันธุ์. (2015). การวิเคราะห์การอยู่รอด
จากการออกกลางคันของนักศึกษาโครงการปริญญาตรีภาคพิเศษ ภาควิชาคณิตศาสตร์และสถิติ
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. Thai Journal of Science and Technology, 4, 14-23.
ศิริวรรณ ทวีวัฒนปรีชา. (2549). การเห็นคุณค่าในตนเอง และความสัมพันธ์ระหว่างการเห็นคุณค่าในตนเอง
กับการปรับตัวในสังคมของนิสิต คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (วิทยานิพนธ์ปริญญา
มหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะแพทยศาสตร์, สาขาสุขภาพจิต.
อมราพร สุรการ. (2555). การศึกษาองค์ประกอบและตัวแปรเชิงสาเหตุของการปรับตัวของนักเรียนที่มี
ความสามารถพิเศษทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต).
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์, สาขาการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์.
อังศินันท์ อินทรกำแหง. (2551). การสังเคราะห์งานวิจัยที่เกี่ยวกับความเครียดและการเผชิญความเครียด
ของคนไทย (รายงานการวิจัยฉบับที่ 115). สืบค้นจาก https://bsris.swu.ac.th/upload/115.pdf
อรพินทร์ ชูชม และ อัจฉรา สุขารมณ์. (2535). องค์ประกอบที่สัมพันธ์กับการปรับตัวของนักเรียนวัยรุ่น
(รายงานการวิจัยฉบับที่ 48). สืบค้นจาก https://bsris.swu.ac.th/upload/48.pdf
Aiken, L. R. (2003). Psychological Testing and Assessment. Boston: Allyn and Bacon.
Aspinwall, L. G., & Taylor, S. E. (1992). Modeling Cognitive Adaptation: A Longitudinal
Investigation of the Impact of Individual Differences and Coping on College Adjustment and Performance. Journal of Personality and Social Psychology, 61, 755-765.
Bejerano, A. (2014). An Examination of the Role of Social Support, Coping Strategies, and
Individual Characteristics in Students’ Adaptation to College. (Doctoral dissertation). Retrieved from https://digitalcommons.unl.edu/commstuddiss/28
Coopersmith, S. (1981). The Antecedents of Self-Esteem. California: Consulting Psychologists.
Corry, D. A., Lewis, C. A., & Mallett, J. (2014). Harnessing the Mental Health Benefits of the Creativity–Spirituality Construct: Introducing the Theory of Transformative Coping. Journal of Spirituality in Mental Health, 16(2), 89-110.
Corry, D. A., Mallett, J., Lewis, C. A., & Abdel-Khalek, A. M. (2013). The Creativity-Spirituality Construct and Its Role in Transformative Coping. Mental Health, Religion & Culture, 16(10), 979–990.
Corry, D. A., Tracey, A. P., & Lewis, C. A. (2015). Spirituality and Creativity in Coping, Their Association and Transformative Effect: A Qualitative Enquiry. Religions 2015, 6, 499-526.
Faber, B. A. (1983). Stress and Burnout in The Human Service Professions. New York: Pergamon.
Faull, F., & Hills, M. D. (2006). The Role of the Spiritual Dimension of The Self as the
Prime Determinant of Health. Disability and Rehabilitation, 28(11, 729–740.
Fredrickson, B. L. (2004). The Broaden-and-Build Theory of Positive Emotions. Philosophical Transactions of Positive Emotions (The Royal Society of London), 359(1449), 1367–1377.
Gillham, J. E., & Seligman, M. E. P. (1999). Footsteps on The Road to A Positive Psychology. Behaviour Research and Therapy, 37, 163-173.
Hurlock, B. E. (1973). Adolescents Development. Tokyo: McGraw Hill Kagakusha.
Ikiz, F. E., & Cakar, F. S. (2010). Perceived social support and self-esteem in adolescence.
Social and Behavioral Sciences, 5, 2338–2342.
Kline, R. B. (2011). Principles and practice of structural equation modeling. New York: Guilford.
Kumar, R., Lal, R., & Bhuchar, V. (2014). Impact of Social Support in Relation to Self-Esteem
and Aggression among Adolescents. International Journal of Scientific and Research Publications, 4(12), 2250-3153.
Lazarus, R. S. (1969). Patterns of Adjustment and Human Effectiveness. New York: McGraw-Hill.
Liu, Y., Wang, Z., Zhou, C., & Li, T. (2014). Affect and Self-Esteem as Mediators between Trait Resilience and Psychological Adjustment. Personality and Individual Differences,
66, 92-97.
Madden, C., & Bloom, T. (2004). Creativity, Health and Arts Advocacy. International
Journal of Cultural Policy, 10(2), 133-156.
Monat, A., & Lazarus, R. S. (1985). Stress and Coping: An Anthology. New York: Columbia University.
Park, C. L., & Folkman, S. (1997). Meaning in the Context of Stress and Coping. Review of
General Psychology, 1(2), 115-144.
Pasha, H. S., & Munaf, S. (2013). Relationship of Self-Esteem and Adjustment in Traditional University Students. Procedia - Social and Behavioral Sciences, 84, 999-1004.
Rand, K. L., & Cheavens, J. S. (2009). Hope theory. In S. J. Lopez & C. R. Snyder (Eds.), Oxford library of psychology. Oxford handbook of positive psychology (pp. 323-333).
New York: Oxford University Press.
Reda, A. (1994). Sources and Levels of Stress in Relation to Locus of Control and Self
Esteem in University Students. Educational Psychology, 14, 323 – 331.
Reynolds, F., Lim, K. H., & Prior, S. (2008). Images of resistance: A qualitative enquiry into
the meanings of personal artwork for women living with cancer. Creativity Research Journal, 20(2), 211–220.
Rosenberg, M. (1981). The Self-Concept: Social Product and Social Force. In M. Rosenberg & R. H. Turner (Eds.), Social Psychology: Sociological Perspectives (pp. 593-624). New York: Basic Books.
Rovinelli, R. J., & Hambleton, R. K. (1977). On the Use of Content Specialists in the Assessment of Criterion-Referenced Test Item Validity. Dutch Journal of Educational Research,
2, 49-60.
Rueger, S. Y., Malecki, C. K., & Demaray, M. K. (2010). Relationship between Multiple Sources of Perceived Social Support and Psychological and Academic Adjustment in Early Adolescence: Comparisons Across Gender. Journal of Youth and Adolescence, 39, 47-61.
Schaefer, C., Coyne, J. C., & Lazarus, R. S. (1981). The Health Related Functions of Social
Support. Journal of Behavioral Medicine, 4, 381-406.
Schumacker, R. E., & Lomax, R. G. (2010). A Beginner’s Guide to Structural Equation Modeling. New York: Routledge.
Snyder, C. R. (1994). Hope and Optimism. Encyclopedia of human behavior, 2, 535-542.
Snyder, C. R. (2000). Handbook of Hope: Theory, Measures, and Applications. San Diego,
CA: Academic Press.
Snyder, C. R., & Shorey, Hal. S. (2002). Hope in the Classroom: The Role of Positive
Psychology in Academic Achievement and Psychology Curricula. Psychology Teacher Network, 12(1), 3-15.
Soares, J. F., Giorgio Grossi. (2000). The Relationship between Levels of Self-Esteem, Clinical Variables, Anxiety/Depression and Coping among Patients with Musculoskeletal Pain. Scandinavian Journal of Occupational Therapy, 7(2), 87-95.
Spandler, H., Secker, J., Kent, L., Hacking, S., & Shenton, J. (2007). Catching life: The contribution
of arts initiatives to recovery approaches in mental health. Journal of Psychiatric and Mental Health Nursing, 14, 791–799.
Suárez-Orozco, C., & Suárez-Orozco, M. M. (2001). The developing child. Children of immigration.
Cambridge, MA, US: Harvard University Press.
Thompson, S. C. (1985). Finding Positive Meaning in a Stressful Event and Coping.
Basic and Applied Social Psychology, 6(4), 279-295.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
114 ซอยสุขุมวิท 23 ถนนสุขุมวิท แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110
โทร 02-649-5000 ต่อ 17600