The Factors Influencing Vocational Education Students' Argumentative Skills
Main Article Content
Abstract
The study on the factors influencing conflicts among vocational students is qualitative research aimed at identifying the factors contributing conflicts among these students. The study utilized semi - structured and in - depth interviews as research tools. Key informants were purposively selected, specifically, students currently enrolled in vocational institutions under the jurisdiction of the Office of the Vocational Education Commission in Bangkok who have been involved in violent incidents. The data was verified using triangulation, revealing seven factors contributing to conflicts among vocational students: senior students, the commute from home to the institution, institutional pride, family, personal issues, friends, and substance abuse.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร การอาชีวศึกษาภาคกลาง ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารการอาชีวศึกษาภาคกลางหากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนใดส่วนหนึ่ง ไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์ ในการคัดลอกบทความเพื่อการศึกษาแต่ให้อ้างอิงแหล่งที่มาให้ครบถ้วน สมบูรณ์ สงวนสิทธิ์ โดย สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 4 ที่ตั้ง 90 ถนนเทศา ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม โทรศัพท์ 034 242 856 , โทรสาร 034 242 858 ISSN : 3056-9176 (print) ISSN : 2985-2382 (online) |
References
กฤตพร ชุมสุวรรณ. (2559). การศึกษาแนวทางเพื่อจัดการปัญหาการทะเลาะวิวาท ของนักเรียนวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชนแห่งหนึ่ง. วิทยานิพนธ์ ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร.
ฐาปนัส เรืองรัตนพงศ์ และ ศศิภัทรา ศิริวาโท. (2563). ปัจจัยที่มีผลต่อการทะเลาะวิวาทของนักเรียนอาชีวะ: กรณีศึกษาสถาบันอาชีวศึกษา ในพื้นที่อำเภอเมืองสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ. ใน เอกสารสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยรังสิต ประจำปี 2563 (1 พฤษภาคม หน้า 911–1,000). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยรังสิต.
ณัฏฐาภรณ์ โสกัณฑัต. (2557). พฤติกรรมการใช้ความรุนแรง กรณีศึกษาการทะลาะวิวาทของนักเรียนอาชีวศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.
พระครูกิตติวราทร, และคณะ. (2562). การพัฒนารูปแบบการป้องกัน และแก้ไขปัญหาหารทะเลาะวิวาทของเยาวชนไทยในศตวรรษที่ 21 ด้วยพุทธวิธี (รายงานการวิจัย). นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2579. กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.
สุณีย์ กัลยะจิตร, อนุสรณ์ พยัคฆาคม, และ มนตรี ยิ้มแย้ม. (2561, มกราคม-มิถุนายน). รูปแบบและแนวทางการป้องกันการก่อเหตุทะเลาะวิวาทของนักเรียน/นักศึกษาในกรุงเทพมหานคร. สหศาสตร์, 18, (1), หน้า 167-192.
อิสเรศวร์ ลักษมีพิเชษฐ์. (2561). มาตรการป้องกันปัญหาความรุนแรงในนักเรียนอาชีวศึกษาในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาอาชญาวิทยาและงานยุติธรรม บัณฑิตวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.