Mathematical Model of Box-Behnken Design for Predicting Mechanical Properties of Heat Treatment of Inconel 738 Through the Use
Main Article Content
Abstract
This research studied the application of Box – Behnken Design for mathematical model for predicting mechanical properties on the Inconel 738 through the use. The three main factors were studied: Solution temperature (X1), Aging temperature (X2) and Aging time (X3). The resulting materials were examined using Box - Behnken experimental design to determine the resulting material hardness test. The experimental results show that using a full quadratic model with the proposed mathematical model. The most appropriate parameter for highest hardness is solution temperature 930 oC Aging temperature 600 oC and Aging time 20 hr. It can be concluded that the solution temperature, aging temperature and aging time have an influence on the hardness at statistically significant value of 0.05. The hardness of the specimen was highest with the amount of titanium carbide. The results of this research can be used as data for the heat treatment processing of Inconel 738.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร การอาชีวศึกษาภาคกลาง ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารการอาชีวศึกษาภาคกลางหากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนใดส่วนหนึ่ง ไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์ ในการคัดลอกบทความเพื่อการศึกษาแต่ให้อ้างอิงแหล่งที่มาให้ครบถ้วน สมบูรณ์ สงวนสิทธิ์ โดย สถาบันการอาชีวศึกษาภาคกลาง 4 ที่ตั้ง 90 ถนนเทศา ตำบลพระปฐมเจดีย์ อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม โทรศัพท์ 034 242 856 , โทรสาร 034 242 858 ISSN : 3056-9176 (print) ISSN : 2985-2382 (online) |
References
นพสิทธิ์ ภูถมเมฆ. (2556). ศึกษาเปรียบเทียบกลไกการเกิดความเสียหายของวัสดุ Nickel base superalloy เกรด GTD-111 และเกรด Inconel -738 ของชิ้นส่วนใบพัดเทอร์ไบน์ที่ผ่านการใช้งานมาแล้ว. โครงงานวิจัย ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.
วีรเทพ เฉลิมสมิทธิ์ชัย. (2550). การศึกษาปริมาณธาตุที่เหมาะสมในอุตสาหกรรมการผลิตเหล็กดิบโดยวิธีการออกแบบการทดลอง. วิทยานิพนธ์ ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ.
วัลย์วิภา แก่นจันทร์. (2555). การเพิ่มปริมาณธาตุซิลิกอนในผิวเคลือบอลูมิไนด์ในโลหะผสมพิเศษเบสนิเกิลเกรด INCONEL 939. โครงงานวิจัย ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโลหการ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.
สมเกียรติ ตั้งจิตสิตเจริญ และ ภูมินทร์ แจ่มเชื้อ. 2554.การลดฟองอากาศในกระบวนการผลิตบรรจุภัณฑ์พลาสติกโดยการประยุกต์ใช้การออกแบบการทดลองแบบบ็อกซ์-เบห์นเกน. ในการประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ ประจำปี 2554 (IE Network 2011) (20-21 ตุลาคม หน้า 171-175). ชลบุรี: โรงแรมแอมบาสเดอร์ซิตี้ จอมเทียน.
สิรินญา จันทร์ศักดิ์สูง. (2550). ผลของอุณหภูมิและเวลาต่อความหนาและโครงสร้างชั้นเคลือบในกระบวนการ Pack-Aluminizing ของโลหะผสมพิเศษนิกเกิลชนิด IN 738 และ GTD 111. วิทยานิพนธ์ ปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรม โลหการ บัณฑิตวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อภิชาติ พานิชกุล และ อุษณีย์ กิตกำธร. (2554). การอบชุบทางความร้อนของโลหะ. ค้นเมื่อ ตุลาคม 23, 2566, จาก http://personal.sut.ac.th/heattreatment/context/Measurement_Of_Hardness.html
อภินันท์ แต้ตระกูล และ จิรรัตน์ ธีระวราพฤกษ์. (2554, มกราคม-มิถุนายน). การศึกษาหาค่าการติดตั้ง ที่เหมาะสมสำหรับเครื่องจักรเชื่อมอัตโนมัติ: กรณีศึกษาชิ้นส่วนเครื่องบิน. บริหารธุรกิจเทคโนโลยีมหานคร, 8, (1), หน้า 47-58.
Balasubramanian, M. (2015, July). Application of Box–Behnken design for fabrication of titanium alloy and 304 stainless steel joints with silver interlayer by diffusion bonding. Materials & Design, 77, pp.161-169.
Gunaraj, V., & Murugan, N. (1999). Application of response surface methodologies for predicting weld base quality in submerged arc welding of pipes. Journal of Materials Processing Technology, 88, (1-3), pp. 266-275.
Hill, W.J. & Hunter, W.G. (1966, November). A Review of Response Surface Methodology. Technometrics, 8, (4), pp. 571-590.