แนวทางการขับเคลื่อนและพัฒนาอาชีวศึกษาไทย

Main Article Content

ขนิษฐา ชัยรัตนาวรรณ

บทคัดย่อ

ปัจจุบันกำลังคนด้านอาชีวศึกษาขาดแคลนทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ  สถานศึกษาได้พัฒนาโดยการบริหารจัดการให้เป็นไปตามความต้องการของสถานประกอบการ  อีกทั้งมีกระบวนการในการฝึกทักษะ  และสมรรถนะด้านเทคโนโลยีและนวัตกรรม  รวมทั้งภาษาต่างประเทศและคอมพิวเตอร์  เพื่อยกระดับคุณภาพหลักสูตรอาชีวศึกษาให้เป็นมาตรฐานสากล  บทความวิชาการนี้เป็นการนำเสนอแนวทางในการขับเคลื่อนและพัฒนาอาชีวศึกษาไทย  โดยต้องอาศัยความร่วมมือระหว่างภาครัฐ  สถานศึกษาทั้งผู้สอน  ผู้เรียนและภาคเอกชนซึ่งก็คือสถานประกอบการ  จึงทำให้การสร้างกำลังคนด้านอาชีวศึกษาเกิดขึ้นอย่างมีคุณภาพอย่างแท้จริง

Article Details

How to Cite
ชัยรัตนาวรรณ ข. (2018). แนวทางการขับเคลื่อนและพัฒนาอาชีวศึกษาไทย. วารสารการอาชีวศึกษาภาคกลาง, 2(2), 1–9. สืบค้น จาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/IVECJournal/article/view/246495
บท
บทความวิชาการ

References

1. จงสถาพร ดาวเรือง และคณะ. (2560). อนาคตภาพการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาในทศวรรษหน้า. ว. วิจัยและพัฒนาวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 12 (1), หน้า 289-300.

2. จอมพงศ์ มงคลวนิช. (2557). วิกฤต ! แรงงานขาดแคลน ทำไม เด็กไทยเรียนอาชีวะน้อยลง?. ค้นเมื่อ กุมภาพันธ์ 14, 2562, จาก https://www.thairath.co.th/content/426863.

3. ชัยพฤกษ์ เสรีรักษ์. (2557). อาชีวะจัดงานใหญ่ทวิภาคีไทย ตอบโจทย์การพัฒนาประเทศ. ค้นเมื่อ กุมภาพันธ์ 14, 2562, https://www.ryt9.com/s/govh/2034906

4. ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ (2561) การประชุมศึกษาธิการครั้งที่ 1/2561. ข่าวสารหน่วยงานภาครัฐ https://www.egov.go.th/th/content/10301/5418/

5. ณัฐสิฎ รักษ์เกียรติวงศ์. (2558). การปฏิรูปอาชีวศึกษาของประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยเพื่อเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ).

6. วิทยา ดวงสินธ์. (2557). รูปแบบการบริหารอาชีวศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. วารสารวิชาการ ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน - ธันวาคม 2557 : หน้า 1202 - 1216.

7. สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2552ก). นโยบายและแนวทางการปฏิบัติในการรับนักศึกษา ของสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา.

8. สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2552ข). พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551. กรุงเทพฯ: แม็ค.

9. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี. (2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564). ค้นเมื่อ กุมภาพันธ์ 13, 2562, https://www.nesdb.go.th /ewt_w3c/ewt_News.php?nid=74547&lename=.

10. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). รายงานการติดตามและประเมินผลการจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี.กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.

11. สุนันทา สังข์ทัศน์. (2556). การพัฒนารูปแบบการบริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาโดยใช้แนวคิด Balanced Scorecard (BSC). ว. วิชาการคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.8 (1), หน้า 99-112.

12. Boyer, B.A. and Semrau, P. (1995). A Constructivist Approach to Social Studies: Integrating Technology. J. Social Studies and the Young Learner. 7 (3), หน้า 14-16.

13. Richardson, V. (1994). Constructivist teaching: Theory and peactice. J. Teaching Thinking and Problem Solving. 16 (1), หน้า 3-7.