การปรับเปลี่ยนการบริหารหลักสูตรปริญญาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยียานยนต์ ในการปรับปรุงทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษในยุค 4.0

ผู้แต่ง

  • ฐิติกร หมายมั่น บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย
  • ประกอบ คุณารักษ์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย

คำสำคัญ:

การบริหารหลักสูตรเทคโนโลยียานยนต์ทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ

บทคัดย่อ

            งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันของการบริหารหลักสูตรและสร้างข้อเสนอการปรับเปลี่ยนการบริหารหลักสูตรปริญญาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยียานยนต์ในการปรับปรุงทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษในยุค 4.0ผู้วิจัยใช้วิธีวิจัยแบบผสานวิธีด้วยรูปแบบการอธิบายตามลำดับ ข้อค้นพบที่ได้คือ สภาพปัจจุบันของการบริหารหลักสูตรโดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยตัวแปรการวางแผนด้านรายวิชา การวางแผนด้านการฝึกทักษะประสบการณ์วิชาชีพ และการนำแผนไปสู่การปฏิบัติด้านการเรียนการสอน สามารถร่วมกันอธิบายความผันแปรของประสิทธิผลของทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ gif.latex?\widehat{(Y)} ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติเท่ากับ 0.05 ได้ร้อยละ 41.90 และสมการถดถอยประสิทธิผลของทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ คือ gif.latex?\widehat{Y}= 517.630+34.155X2 + 35.057X3 – 177.608X4 ข้อเสนอการปรับเปลี่ยนในการวางแผนด้านรายวิชา การฝึกทักษะประสบการณ์วิชาชีพ และการนำแผนไปสู่การปฏิบัติด้านการเรียนการสอนมีทั้งหมด 47 ข้อ ซึ่งผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 26 คน ให้การรับรองผลในระดับมาก ( gif.latex?\bar{X}=4.51, SD=0.65) ทั้งด้านความเหมาะสม ความเป็นไปได้ ความสอดคล้อง และความเป็นประโยชน์

References

กระทรวงอุตสาหกรรม. (2559). ยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมไทย 4.0 ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579). สืบค้นเมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2562 จาก http://www.oie.go.th

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2548). สถิติสำหรับงานวิจัย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กุลชลี ธูปะเตมีย์ และประกอบ คุณารักษ์. (2565). การศึกษาสภาพการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ การนำนโยบายและแนวทางการใช้กรอบอ้างอิงความสามารถทางภาษาของยุโรปไปปฏิบัติในโรงเรียนมัธยมศึกษา. วารสารการวัดผลการศึกษา.39(105). 161-174.

จารุพร ตั้งพัฒนกิจ. 2563). อิทธิพลของปัจจัยที่ส่งผลต่อการพูดสื่อสารภาษาอังกฤษโดยมีแรงจูงใจเป็นตัวแปรคั่นกลางและความวิตกกังวลเป็นตัวแปรกำกับ. วารสารบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ ราชมงคลล้านนา. 8(2). 111-126.

จิตติมาอัครธิติพงศ์. (2562). ความต้องการทักษะของตลาดแรงงานในยุค 4.0. วารสารวิทยาการจัดการปริทัศน์.21(1). 181-190.

ชนากานต์สุวรรณรัตนศรี, ฉัตรมณีบัววรรณ, และชุติกรปรุงเกียรติ. (2562). คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของบุคลากรในยุคประเทศไทย 4.0. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาลัยนครราชสีมา ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2562 (หน้า 306-314). นครราชสีมา: วิทยาลัยนครราชสีมา.

ไทยพับลิก้า. (2563). ชู “EEC Model” ตั้ง 6 ศูนย์ ปั้น “อาชีวะ” ป้อนอุตฯ ไฮ-เทค. ไทยพับลิก้า. สืบค้นเมื่อ 15 เมษายน 2564 จาก https://thaipublica.org/2020/08/vocational-education-eec/

ธัญลักษณ์ มณีโชติ, นริสรา หร่ายพิมาย, และสิรินาฏ มูลเมือง. (2559). การประเมินโครงการพัฒนาศักยภาพการจัดการเรียนการสอนของครูภาษาอังกฤษโดยใช้แนวคิดของเคิร์กแพทริค. วารสารการวัดผลการศึกษา. 33(93). 20-29.

ธัญลักษณ์ มณีโชติ. (2559). การดำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนประถมศึกษากรณีศึกษาโรงเรียนวัดน้ำพุ. วารสารการวัดผลการศึกษา.33(94). 42-54.

ธันนิกานต์ สูญสิ้นภัย. (2563). การทบทวนนโยบายการศึกษาภาษาอังกฤษของไทย. วารสารวิทยาลัยสงฆ์นครลำปาง.9(1). 86-97.

บุญใจศรีสถิตนรากูร. (2563). ขนาดอิทธิพล การวิเคราะห์อำนาจการคำนวณขนาดตัวอย่างที่เหมาะสมโดยใช้โปรแกรม G*Power. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ปวีณา เมธีวรกิจ, ปิยธิดา ต.ไชยสุวรรณ, สินทรัพย์ นับเพชรพลอย, และกุลวดี เถนว้อง. (2563). การวัดประสิทธิภาพสมการพยากรณ์ความสามารถในการเรียนวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ ตามทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ด้วยวิธีสร้างต้นไม้ตัดสินใจ. วารสารการวัดผลการศึกษา.37(102). 202-218.

ประไพพิมพ์สุธีวสินนนท์ และประสพชัย พสุนนท์. (2559). กลยุทธ์การเลือกตัวอย่างสำหรับการวิจัยเชิงคุณภาพ. วารสารปาริชาต มหาวิทยาลัยทักษิณ.29(2). 31-48.

พรรณี โรจนเบญจกุล, ศรีปริญญา ธูปกระจ่าง, และชาญเดช เจริญวิริยะกุล. (2561). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลการเรียนรู้ภาษาอังกฤษของนักศึกษาในระดับอุดมศึกษา. วารสารสมาคมนักวิจัย.23(2). 203-214.

พล เหลืองรังสี และสายฝน วิบูลรังสรรค์. (2563). แนวทางการประเมินโครงการในโรงเรียน. วารสารการวัดผลการศึกษา. 37(102). 118-125.

มนัสวีศรีนนท์. (2558). วิเคราะห์การบริหารการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21 ด้วยทฤษฎีการบริหารการศึกษาเชิงระบบ. วารสารศึกษาศาสตร์ มมร.3(2). 51-57.

วรรณี แกมเกตุ. (2555). วิธีวิทยาการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศิริชัยกาญจนวาสี. (2554). การวิเคราะห์พหุระดับ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สมพรปานดำ. (2563). กลยุทธ์การพัฒนาทักษะภาษาต่างประเทศ สำหรับผู้เรียนอาชีวศึกษาประเภทวิชาอุตสาหกรรม สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. พัฒนวารสาร. 7(1). 207-217.

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2560). แผนพัฒนาการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2560-2579. สืบค้นเมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2562 จาก http://www.vec.go.th

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2557). คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2557. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.

สำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก. (2561). แผนปฏิบัติการการพัฒนาบุคลากรการศึกษา การวิจัย และเทคโนโลยี รองรับการพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก. สืบค้นเมื่อ 15 กุมภาพันธ์ 2563 จาก http://www.eeco.or.th

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. สืบค้นเมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2562 จาก http://www.onec.go.th

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2561). มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561. สืบค้นเมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2562 จาก http://www.onec.go.th

สำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553. สืบค้นเมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2562 จาก http://www.ratchakitcha.sco.go.th

สำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา. (2562). ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กรอบคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 1 กุมภาพันธ์ 2562 จาก http://www.ratchakitcha.sco.go.th

สุวรรธนาเทพจิต และจุฑามาศทวีไพบูลย์วงศ์. (2557). สุขกันเถิดเรา HR Care Meter งานวิจัยสำหรับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของอุตสาหกรรมยานยนต์ที่นำองค์การไปสู่องค์การสุขภาวะ. กรุงเทพฯ: สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย.

สุวิมล ติรกานันท์. (2555). การวิเคราะห์ตัวแปรพหุในงานวิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เสริมศักดิ์วิศาลาภรณ์. (2550). ความเป็นครูมืออาชีพ.กรุงเทพฯ: คุรุสภา.

อารดีอภิวงค์งาม. (2557). การเรียนรู้ภาษาผ่านการเรียนรู้แบบข้ามวัฒนธรรม. วารสารศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้.2(1). 105-117.

อิทธิพัทธ์สุวทันพรกูล. (2561). การวิจัยทางการศึกษา: แนวคิดและการประยุกต์ใช้. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อัจศรา ประเสริฐสิน. (2558). การวิจัยเชิงประเมินแบบผสานวิธี. รวมบทความวิธีวิทยาและทฤษฎีเพื่อการวิจัย. สืบค้นเมื่อ 15 เมษายน 2564 จาก https://sites.google.com/a/g.swu.ac.th/bookarticle/home

อัจศรา ประเสริฐสิน. (2563). เครื่องมือการวิจัยทางการศึกษาและสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Fan, C. T. (1952). Item Analysis Table: A Table of Item-difficulty and Item-discrimination Indices for Given Proportions of Success in the Highest 27 Per Cent and the Lowest 27 Per Cent of a Normal Bivariate Population.

Guskey, T.R. (2000). Evaluation professional development. California: A sage.

Gutierrez, G. (2013). Newby, stepich, lehman and russell (PIE Model) and ADDIE.Retrieved February 10, 2019 from http://www.gabrielaseportfolio.pbworks.com

International Labour Organization--ILO. (2017). Chances & Challenged of Industry 4.0 workforce. Retrieved February 10, 2019 from http://www.ilo.org

Linstone,H. A., & Turoff, M. (1975). Introduction in the delphi method: Techniques andapplications. Massachusetts: Addison-Wesley.

Stufflebeam. D, L. (1971). The Relevance of the CIPP Evaluation Model for Educational Accountability. Paper read at the Annual Meeting of the American Association of School Administrators. Atlantic City: New Jersey.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-07-12