กลยุทธ์การรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งของนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด

ผู้แต่ง

  • นิรัตน์ เพชรรัตน์
  • อัญมณี ชูมณี
  • อภิชาติ มหาราชเสนา
  • สมชาย สาโรวาท

คำสำคัญ:

การรณรงค์, กลยุทธ์, นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด

บทคัดย่อ

    บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) บริบททางการเมือง ที่ส่งผลต่อการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งของผู้สมัครรับเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด 2) กลยุทธ์การรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งของผู้สมัครนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด      

            บริบทการเมืองที่ส่งผลต่อการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด ที่ผ่านมาบริบททางการเมือง จะขึ้นอยู่กับฐานของ ตระกูลใหญ่ที่ได้รับการย่อมรับในจังหวัดนั้น ๆ ตลอดจนการหนุนช่วยของเครือญาติในระบบอุปถัมภ์ ที่มีในสังคมไทย การสนับสนุนของนักการเมืองระดับชาติ ที่สังกัดพรรคการเมืองใหญ่ อย่างพรรคประชาธิปัตย์ พลังประชาชน กลยุทธ์การรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งของผู้สมัคร

นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดที่นำไปสู่ชัยชนะในการเลือกตั้งภายใต้กรอบแนวคิดทางการตลาด การจำแนกส่วนทางการตลาด การวางตำแหน่งของผู้เลือกตั้ง กลยุทธ์ในการหาเสียง

References

โกวิทย์ พวงงาม. (2552). การปกครองท้องถิ่นไทย : หลักการและมิติในอนาคต. (พิมพ์ครั้งที่ 7)กรุงเทพมหานคร : วิญญูชน จำกัด.
นิรัตน์ เพชรรัตน์ไทย. (2555).กลยุทธ์การรณรงค์การหา เสียงเลือกตั้งผู้สมัครรับเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี : ศึกษากรณีการเลือกตั้งปี 2555. ดุษฎีนิพนธ์ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (สื่อสารการเมือง) วิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก.
นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2541). วัฒนธรรมความจน. กรุงเทพมหานคร : แพรว.
นันทนา นันทวโรภาส. (2548). การสื่อสารทางการเมือง : ศึกษากรณีการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งทั่วไปของพรรคไทยรักไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ปฤฐฎาง จันทรบุญเรือง. (2553). กลยุทธ์การสื่อสารเพื่อการเลือกตั้งของจังหวัดที่มีผู้ไปลงคะแนนเสียงมาก ที่สุดใน ประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ ดุษฎีบัณฑิตสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พฤทธิสาณ ชุมพล, มรว. (2535). ระบบการเมือง : ความรู้เบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเลือกตั้ง. (2555,31 พฤษภาคม) ผู้จัดการรายวัน,หน้า 1
พิมพ์บุญ เตียไม้ไทย.(2555). กลยุทธ์การรณรงค์การหาเสียงเลือกตั้งผู้สมัครรับเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงราย :ศึกษากรณีการเลือกตั้งปี 2555. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(สื่อสารการเมือง)วิทยาลัยสื่อสารการเมือง มหาวิทยาลัยเกริก.
สุรพงษ์ โสธนะเสถียร.(2544). การสื่อสารกับการเมือง. กรุงเทพมหานคร : ประสิทธิ์ภัณฑ์ แอนด์ พริ้นติ้ง
Almond, Gabriel A & Coleman. J. S. The Politics of the Developing Area. Priceton:PricetonUniverstityPress, 1960.
Lees – Marshment, Jennifer. The Marriage of Political and Marketing. In Political Studies. Volume 49, Number 4, September 2001. London: Blackwell Publishing,2001.
Newman, Bruce I. (1999). Handbook of Political Marketing. California : Sag

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-11-22