รูปแบบการจัดการวัดเป็นศูนย์ฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดในจังหวัดอุดรธานี
คำสำคัญ:
การจัดการ, ยาเสพติดบทคัดย่อ
การศึกษาวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพการจัดการวัดที่เป็นศูนย์ฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดในจังหวัดอุดรธานี 2) เพื่อวิเคราะห์การจัดการวัดเป็นศูนย์ฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดของวัดศรีทรงธรรมในจังหวัดอุดรธานี 3) เพื่อนำเสนอรูปแบบการจัดการวัดเป็นศูนย์ฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดในจังหวัดอุดรธานี ดำเนินการวิจัยโดยใช้รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 25 รูป/คน ผลการวิจัยพบว่า
- สภาพของวัดที่เป็นศูนย์ฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดในจังหวัดอุดรธานี วัดต้องมีอาคารสถานที่ที่เหมาะสม เพียงพอและมีความสะดวกสบาย ในการทำกิจกรรม บำบัดฟื้นฟู พร้อมสิ่งอำนวยความสะดวกกับวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ให้วัดเป็นสถานที่สัปปายะต่อผู้เข้ารับการบำบัดฟื้นฟู
- หลักการและวิธีการฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติดของวัด มีรูปแบบการจัดการ 4 ด้าน คือ ด้านนโยบาย ด้านระบบการบริหาร ด้านองค์กรปฏิบัติ และด้านแนวทางการแก้ไขปัญหา โดยมีสาระสำคัญ คือ การจัดการด้านนโยบาย ต้องมีความชัดเจนในการจัดการ มีความต่อเนื่อง มีระบบการสร้างการมีส่วนร่วม
3. รูปแบบการจัดการวัดเป็นศูนย์ฟื้นฟูผู้ติดยาเสพติด ด้านองค์กรปฏิบัติ คือ วัดต้องมีการจัดการระบบโครงสร้าง ขององค์กรและการบริหารงานที่ชัดเจน มีสัมพันธภาพ มีแผนงาน มีระบบการจัดการทั้งด้านบุคลากร มีแผนงาน มีระบบการจัดการทั้งด้านบุคลากรที่ทำงานทั้งการฟื้นฟูร่างกาย จิตใจและการติดตามประเมินผล พร้อมสร้างเครือข่ายภาคปฏิบัติร่วมกันระหว่าง ครอบครัว ชุมชน และท้องถิ่น ด้วยแนวทางการ
References
โกศล วงศ์สวรรค์. ปัญหาสังคม. (กรุงเทพมหานคร: อมรการพิมพ์, 2537) หน้า 85.
คณาจารย์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.การปกครองคณะสงฆ์ไทย. (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2551) หน้า 92
จินตนา บุญบงการ และณัฏฐพันธ์ เขจรนันทร์. การจัดการเชิงกลยุทธ์. (กรุงเทพมหานคร: บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด มหาชน, 2549) หน้า 154.
จุมพล สวัสดิยากร. หลักการบริหารและมนุษยสัมพันธ์. (กรุงเทพมหานคร: สุวรรณภูมิ, 2552) หน้า 87.
เฉลียวบุรีภักดี. แนวทางการดำเนินงานหลักสูตรศิลปมหาบัณฑิตสาขายุทธศาสตร์การพัฒนา. (บัณฑิตวิทยาลัย: สถาบันราชภัฏเพชรบุรี, 2544) หน้า 54.
เกยูร วงศ์ก้อม. กลุยทธ์การนำนโยบายการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการสู่การปฏิบัติของสถานศึกษาสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ. (วิทยานิพนธ์การจัดการดุษฎีบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต, 2549) หน้า 35.
กรภัค จ๋ายประยูร. การนำเสนอแนวทางการจัดการศึกษาเพื่อเสริมพลังอำนาจภาคประชาชนด้านความเป็นประชาธิปไตย. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต คณะครุศาสตร์: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549) หน้า 63.
พูนสุข มาศรังสรรค์.การจัดการความรุนแรงในครอบครัวเชิงพุทธบูรณาการ. (พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาการจัดการเชิงพุทธ บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2555) หน้า 55.
มานพ คณะโต. โครงการศึกษาสถานการณ์และการแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. (รายงานการวิจัย. เครือข่ายพัฒนาวิชาการและข้อมูลสารเสพติด: มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2551) หน้า 49.
Ernest Dale. Management Theory and Practice. New York : McGraw–Hill Book Co., 1973.
Greenley.GordoneL.Strategic Management. (London : Prentice-Hall), 1989.
Hoffman, M. L. Development of moral thought, feeling and behavior. American Psychologist, 1979.
James Brian Quinn. Strategic Management for Public and Nonprofit Organization. New York : Marcel Dekker.Inc., 2003.
Keeves, P. J. Educational research methodology and measurement : An international handbook. Oxford England : Pergamon Press, 1988.
Kohlberg, L., Development of moral character and moral ideology in moral reasoning. Review of child development research. Hartford : Connecticul Printers, 1984.