ธรรมชาติมนุษย์กับการศึกษาหลักเบญจศีล

ผู้แต่ง

  • พระครูอุเทศธรรมสาทิส
  • พระครูอุทิศธรรมพินัย
  • พระมหาไมตรี อาสภชโย

คำสำคัญ:

ศีล 5, ธรรมชาติ, มนุษย์

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์ตั้งใจเขียนขึ้นเพราะต้องการศึกษาถึงธรรมชาติของมนุษย์กับการศึกษาหลักเบญจศีลเพื่อนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาประยุกต์ใช้กับแนวคิดตะวันตก เพื่อความหวังความสงบสุข บ่มเพราะหลักธรรมให้เจริญงอกงามมากยิ่งขึ้น

เรื่องธรรมชาติและความต้องการของมนุษย์จะช่วยให้เราเข้าใจตนเองและเข้าใจผู้อื่นได้ดีขึ้นและนำไปสู่การยอมรับความแตกต่างของมนุษย์ได้ เพื่อจะได้อยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข ด้วยความรู้และความเข้าใจและความมีอยู่หรือเป็นอยู่จริง ตามธรรมชาติของมนุษย์ในทางพระพุทธศาสนาพระพุทธองค์ทรงมีหลักพุทธวิธีในการนำข้อปฏิบัติขั้นพื้นฐานนี้มาใช้ในการพัฒนามนุษย์เพื่อขัดเกลาจิตใจส่วนการที่บุคคลไม่สนใจที่จะศึกษานำเอาหลักธรรมมาใช้ในชีวิตประจำวันซึ่งจะช่วยให้เราสามารถตอบสนองความต้องการของผู้อื่นได้อย่างถูกต้องอันนำไปสู่การมีความสัมพันธ์มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีต่อกัน เพื่อให้เกิดความเข้าใจถึงธรรมชาติของมนุษย์ และเข้าถึงหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ผู้เขียนจึงได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากเอกสาร งานวิจัย สื่อออนไลน์ และแนวความคิดจากนักวิชาการหลายท่าน เพื่อทราบถึงข้อปฏิบัติถึงธรรมชาติของมนุษย์ในเบื้องต้น จะได้ปฏิบัติตนถูกต้องตามแบบที่ควรจะเป็นตามหลักธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธองค์

References

กฤษณา ศักดิ์ศรี. (2534). องคการกับมนุษย์สัมพันธ์. กรุงเทพมหานคร: อักษรวิทยา.

แก้ว ธารา. (2557). ศีล 5 ชุบชีวิตลิขิตกรรม. กรุงเทพมหานคร: ปราชญ์สำนักพิมพ์.

พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช). (2551). พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสตร์คำวัด. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภาและสถาบันบันลือธรรม.

พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2546). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. พิมพ์ครั้งที่ 10, บริษัท เอส. อาร์. พริ้นติ้ง แมสโปรดักส์ จำกัด: กรุงเทพมหานคร.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต). พุทธศาสนากับการแนะแนว. หนังสือสรุปการบรรยายที่วิทยาลัยครูสวนดุสิต (ราชภัฏสวนดุสิต) เมื่อวันที่ 26 กันยายน 2531.

พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2557). วิธีบูรณาการพระพุทธศาสนากับศาสตร์สมัยใหม่. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระราชธรรมนิเทศ (ระแบบ ฐิตญาโณ). นิเทศธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 1.

พระสรวิชญ์ อภิปญฺโญ (ดวงชัย). จิตวิทยาการแนะแนวเชิงพุทธ: แนวคิด หลักการและแนวปฏิบัติ. บทความวิชาการ, สืบค้นเมื่อ, 24 ธันวาคม 2563. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา. (มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย) https://www.mcu.ac.th/article/detail/285.

พุทธทาสภิกขุ (อินทปัญฺโญ). (2549). การศึกษาของโลก. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา และสถาบันบันลือธรรม.

พุทธทาสภิกขุ. (2538). คู่มือมนุษย์ (ฉบับสมบูรณ์). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ธรรมสภา.

วงศกร เพิ่มผล. (2555). “ศีล 5: มิติอารยธรรมสากล”. วิทยานิพนธ์ศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา. (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย).

วศิน อินทสระ. (2541).พุทธจริยศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ทองกวาว.

พระปลัดสมบัติ ฐิติฐาโณ และคณะ. (2558). “การจัดความรู้ตามแนวพุทธธรรมในโรงเรียนจังหวัดนครสวรรค์”. วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2558.

พระครูปลัดสุวัฒนเมธาคุณ, บุญร่วม คำเมืองแสน, ปัณณพงศ์ วงศ์นาศรี. (2561). “รูปแบบการดำเนินการโครงการสร้างความปรองดองสมานฉันท์โดยใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา “หมู่บ้านรักษาศีล 5”ของพระสังฆาธิการในจังหวัดสุราษฎร์ธานี”. วารสาร ศึกษาศาสตร์ มมร. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัยปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561).

พงษ์พันธ์ พงษ์โสภา. (2544). ทฤษฎีและเทคนิคการให้คำปรึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมกานคร: บริษัท ธนธัชการพิมพ์ จำกัด.

พระสมุห์พุฒิพงษ์ พุทฺธิวํโส และคณะ. (2563). การเข้าใจธรรมชาติของผู้ร่วมงาน. การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาจุฬาฯ สุรินทร์ ครั้งที่ 1 The 1st MCUSR National Conference พุทธบูรณาการ อารยธรรมวนัมฎองแหรกสู่การพัฒนาสังคมอย่างยั่งยืน.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-01-19