ความรู้เท่าทัน “แชทบอท” การเข้าถึงความคิดของผู้คนต่อการแยกแยะหรือจู่โจม

ผู้แต่ง

  • พระครูสุทธิวรญาณ

คำสำคัญ:

ความรู้เท่าทัน, แชทบอท, ความคิด

บทคัดย่อ

บทความวิชาการเรื่อง ความรู้เท่าทัน “แชทบอท”การเข้าถึงความคิดของผู้คนต่อการแยกแยะหรือจู่โจม วัตถุประสงค์เพื่อสร้างความตระหนักผู้ใช้ช่องทางการสื่อสาร ที่ควรรู้เท่าทันแชทบอทในการเข้าถึงมนุษย์ เพราะอำนาจในการคิดและตัดสินใจเป็นของผู้ใช้ ช่องทางสื่อสารระบบปัญญาประดิษฐ์ (Ai) เป็นเพียงส่วนประกอบการตัดสินใจ วิธีการศึกษา ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์เจาะลึกผู้ให้ข้อมูลสำคัญ เลือกแบบเจาะจงจำนวน 6 ราย เป็นพระภิกษุ 4 รูป และคฤหัสถ์ 2 คน ผลการศึกษาพบว่า พฤติกรรมของผู้ใช้ แชทบอทให้ความเชื่อมั่นในการสื่อสารกับมนุษย์ มากกว่าความน่าเชื่อถือ ของการสื่อสารผ่านอุปกรณ์ มีความสะดวกสบาย ลดเวลาเดินทาง มีค่าใช้จ่ายน้อย ลดการปฏิสัมพันธ์ทั้งเชิงบวก-ลบกับมนุษย์ ส่วนผู้ใช้งานควรมีวิจารณญาณ อ่านรายละเอียด แม้ว่าคนรุ่นใหม่นิยมใช้แชทบอทประกอบการตัดสินใจมากกว่าคนมีอายุ เพราะเชื่อว่าการได้เห็น จับต้องและทดสอบ สามารถตอบโจทย์ความต้องการได้จริง ด้านพฤติกรรมของ
แชทบอทสามารถจดจำพฤติกรรมของผู้ใช้แล้วคัดสรรกลุ่มหรือประเภทสินค้า อุปโภคหรือบริโภค สรุป เพื่อประกอบในการตัดสินใจ และตัวระบบมีความสมบูรณ์ มีความคลาดเคลื่อนการใช้งานน้อยมาก ในการเข้าถึงบริการของแชทบอท ผู้ใช้จำเป็นต้องมีวิธีคิดเชิงบวก การคิดโดยไตร่ตรอง เพื่อแยกแยะความจำเป็น หรือความต้องการ เลือกสาระสำคัญของการสื่อสารเพื่อหลีกเลี่ยงป้องกันความผิดพลาด ข้อเสนอแนะ ด้านการตลาดสมัยใหม่อาจมองว่ามนุษย์ถูกเข้าถึงแบบจู่โจม จนกลายเป็นถูกคุกคาม เรื่องที่เป็นส่วนตัวสามารถถูกเข้าถึงได้ ความรู้เท่าทันการสื่อสารผ่านแชทบอทในยุคสังคมออนไลน์จึงเป็นสิ่งที่ควรใช้วิจารณาญาณ

References

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ปรมะ สตะเวทิน. (2534). เอกสารการสอนชุดวิชาหลักและทฤษฎีการสื่อสาร หน่วยที่ 1-8 (พิมพ์ครั้งที่ 10). นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

พีล, นอร์แมน วินเซ้นท์. (2548). มหัศจรรย์แห่งการคิดบวก. แปลโดย เอกชัย อัศวนฤนาท. กรุงเทพมหานคร: ต้นไม้.

ดร. สรานนท์ อินทนนท์.(2563). การรักษาความปลอดภัยบนโลกไซเบอร์ (Cybersecurity). กรุงเทพมหานคร: บริษัท วอล์ค ออน คลาวด์ จำกัด.

พนิดา ชาตยาภา. (2561)“การคิดวิจารณญาณของครูปฐมวัยในศตวรรษที่ 21” วารสาร วไลอลงกรณ์ปริทรรศน์. 8 (1).

พิทักษ์ สุพรรโณภาพ. (1959-1961) “การคิดเชิงบวก : ตัวแปรในการพัฒนาชีวิต”. Veridian E-Journal, Silpakorn University. 11(3).

สกล เหลือไพฑรูย์และสุเชาวน์ พลอยชุม. (2562). “การเสริมสร้างความคิดเชิงบวกตามแนวพุทธธรรม”. วารสารมหาจุฬาวิชาการ. 6 (ฉบับพิเศษ), 115-117.

สุชญา ศิริธัญภร. (2560) “วิจารณ์หนังสือ คิดบวก : พลังความคิดที่ยิ่งใหญ่ พลิกสู่ชัยชนะอย่างน่าทึ่ง”. วารสารมหาจุฬาวิชาการ. 3(1),159-164).

สุภาวดี เจริญวานิช. (2560). การรังแกกันผ่านพื้นที่ไซเบอร์: ผลกระทบกระการป้องกันในวัยรุ่น. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 25(4), 639-648.

พระปลัดระพิน พุทธิสาโร.(2563) “พุทธวิธีการสื่อสารเพื่อสันติ: วิธีการสื่อสารเพื่อลดการใช้ประทุษวาจาในสังคม”. โครงการจัดประชุมวิชาการระดับชาติ เวทีวิจัยมนุษย์

ศาสตร์ไทย ครั้งที่ 14 “iHumanities: เทคโนโลยี สุขภาพ และชีวิต”. 31.จิรรันดร บู๊ฮวดใช้. (2560). “แนวทางการพัฒนาต้นแบบแชทบอทสำหรับให้คำแนะนำระบบขอทุนอุดหนุนการวิจัย งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม”. งานประชุมวิชาการระดับชาติ. 9. 1907.

เหมือนมาด มุกข์ประดิษฐ์. (2563). “หมากล้อม, รถไฟ, รถไร้คนขับ, และปัญญาทางจริยธรรม ของมนุษย์ที่ AI คิดแทนไม่ได้”. โครงการจัดประชุมวิชาการระดับชาติ เวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย ครั้งที่ 14 “iHumanities: เทคโนโลยี สุขภาพ และชีวิต”. 29.

ณัฐ ปานมโนธรรม, พิมพ์มณี รัตนวิชา. (2563). “ผลกระทบของคุณลักษณะแชทบอทต่อการรับรู้ของผู้เยี่ยมชมโซเชียลคอมเมิร์ซ:การออกแบบการวิจัยเชิงประจักษ์”.รวมบทความผลงานวิจัยระดับชาติ. The 7th NEU National Conference 2020 (MEUNC 2020). 624.

จักรินทร์ สันติรัตนภักดี.(2561). “การตลาดออนไลน์และบริการลูกค้าด้วยแชทบอท กรณีศึกษา: การใช้ Chatfuel ปฏิสัมพันธ์กับลูกค้าผ่านเมสเซนเจอร์”.วารสารศรีปุมปริทัศน ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 10 (1).

คุณนครินทร์ วงษ์มาลี. (11 กุมภาพันธ์ 2564). “แชทบอท” การเข้าถึงอัตลักษณ์ของผู้คนเพื่อการแยกออกหรือจู่โจม. (พระครูสุทธิวรญาณ, สัมภาษณ์)

คุณสุทธินันท์ นิธิมงคลชัย. (13 กุมภาพันธ์ 2564). “แชทบอท” การเข้าถึงอัตลักษณ์ของผู้คนเพื่อการแยกออกหรือจู่โจม. (พระครูสุทธิวรญาณ, สัมภาษณ์)

คุณเอกชัย นำเจริญ. (13 กุมภาพันธ์ 2564). “แชทบอท” การเข้าถึงอัตลักษณ์ของผู้คนเพื่อการแยกออกหรือจู่โจม. (พระครูสุทธิวรญาณ, สัมภาษณ์)

พระเอกสิทธิ์ กิตฺติปาโล (เกิดทรัพย์ไพศาล). (12 กุมภาพันธ์ 2564). “แชทบอท” การเข้าถึงอัตลักษณ์ของผู้คนเพื่อการแยกออกหรือจู่โจม. (พระครูสุทธิวรญาณ, สัมภาษณ์)

พระวินัย ปิยวณฺโณ (ชุณห์ขจร). (13 กุมภาพันธ์ 2564). “แชทบอท” การเข้าถึงอัตลักษณ์ของผู้คนเพื่อการแยกออกหรือจู่โจม. (พระครูสุทธิวรญาณ, สัมภาษณ์)

พระมหามนัสวี ฐิตธมฺโฒ (อารยะนรากูล). (13 กุมภาพันธ์ 2564). “แชทบอท” การเข้าถึงอัตลักษณ์ของผู้คนเพื่อการแยกออกหรือจู่โจม. (พระครูสุทธิวรญาณ, สัมภาษณ์)

Pawares. (2016). TOXIC PEOPLE: เจอคนเหล่านี้ เตรียมหนีให้ดี! เรียกใช้เมื่อ 20 มกราคม 2564 จาก http://moodytwenties.com/toxic-people/

วินน์ วรุวฒิคุณชัย (2560). รู้จัก “บอทน้อย” (@botnoi)”. เรียกใช้เมื่อ 20 มกราคม 2564 จากhttps://thematter.co/science-tech/botnoi-chatbot-interview/21397.

ศิริกร เอื้อไพจิตร. (8 กรกฎาคม2562). “รอยเท้าดิจิทัล : ฝ่ายบุคคลเตือน ตัวตนและความคิดเห็นในโลกออนไลน์มีผลต่อการสมัครงาน”.เรียกใช้เมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2564 จาก https://www.bbc.com/thai/thailand-48902824.

Anak Mirasing (2560). “Chatbot คืออะไร ดียังไง มารู้กันใน 10 นาที”. เรียกใช้เมื่อ20 มกราคม 2564 จาก https://medium.com/@igroomgrim/chatbot-คืออะไร-ดียังไง-มารู้กันใน-10-นาที-3e6165dd34b8.

Abigail Brenner M.D. (August 29, 2016). 8 things-the-most-toxic-people-in-your-life-have-in-common. เรียกใช้เมื่อ 20 มกราคม 2564 จากhttps://www.psychologytoday.com/blog/in-flux/201608/8-things-the-most-toxic-people-in-your-life-have-in-common.

Pat Hemasuk. (2019). “รู้จัก Digital footprint ก่อนคึกคะนองบนโซเชียลเน็ตเวิร์ก”. เรียกใช้เมื่อ 2 กุมภาพันธ์ 2564 จาก http://www.roundtablethailand.com/news/32081-digital-footprint.

Travis Bradberry. (2014). “How Emotionally Intelligent People Handle Toxic People”, EMOTIONAL INTELLIGENCE 2.0, 1st Edition, (San Diego: Talent Smart, 2014): 1.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-01-19