“รถจักรยานยนต์สาธารณะ” ว่าด้วยการเชื่อมโยงความปรารถนาทางสังคม

ผู้แต่ง

  • สุบัณฑิต จันทร์สว่าง
  • ภาราดร แก้วบุตรดี
  • พระครูวิโชติสิกขกิจ
  • ศราวุธ ปลอดภัย
  • ปริญญา นิกรกุล -

คำสำคัญ:

รถจักรยานยนต์สาธารณะ, เชื่อมโยง, ความปรารถนา

บทคัดย่อ

บทความชิ้นนี้ต้องการเผยให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างปัจเจกบุคคลที่มี “อาชีพขับรถจักรยานยนต์สาธารณะ” ที่ประจำอยู่ “วินชีกุล” ในเขตเทศบาลนครพระนครศรีอยุธยา ซึ่งแสดงนัยยะของความสัมพันธ์ที่เป็นเด็กนักเรียน นักศึกษา แม่ค้า ครู พนักงานบริษัทห้างร้าน และประชาชนทั่วไป พร้อมกับการประสานเชื่อมโยงใหม่ต่อไปยังอาชีพอื่นๆ หรือจะเริ่มต้นวันใหม่อีกครั้งบนพื้นที่เก่าหรือพื้นที่ใหม่กับอาชีพที่เป็นการแสดงบทบาทความสัมพันธ์กับความจริงที่จะพบเจอในแต่ละวัน ซึ่งส่งต่อเป็นความปรารถนาทางสังคมจากอาชีพคนขับรถจักรยานยนต์สาธารณะ ที่เชื่อมต่อกันด้วยอาชีพและหน้าที่เป็นการกระทำของปัจเจกที่ยิ่งใหญ่มากกว่านั้นคือ ไม่มีจุดสิ้นสุด

References

กฎกระทรวงกำหนดอัตราค่าจ้างบรรทุกคนโดยสารสำหรับรถจักรยานยนต์สาธารณะ พ.ศ. 2559 หน้า 8เล่ม 113 ตอนที่ 26 ก ราชกิจจานุเบกษา 24 มีนาคม 2559

เกรียงศักดิ์ ดวงมนตรี. (2563). มอเตอร์ไซค์รับจ้างกับการขนส่งสาธารณะในพื้นที่อำเภอเมืองสมุทรปราการ. โครงการรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง สืบค้นจาก http://www3.ru.ac.th/mpa-abstract/files/2563_1614239060_6214830012.pdf

ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. (2560). บทแนะนำสกุลความคิดหลังโครงสร้างนิยม: Introducing Poststructuralism. สมมติ กรุงเทพมหานคร, 122-129

ปณัยกร วรศิลป์มนตรี. (2564). กำเนิด ‘วินมอเตอร์ไซค์’ แรกของกรุงเทพฯ เส้นเลือดฝอยของคนเมืองที่ต้องพึ่งความแว้นไว. สืบค้นจาก https://urbancreature.co/bangkok-motorbike-taxi/

พระราชบัญญัติรถยนต์ (ฉบับที่13) พ.ศ. 2547 (การควบคุมการใช้รถจักรยานยนต์สาธารณะ) ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เล่ม 121 ตอนพิเศษ 70 ก วันที่ 12 พฤศจิกายน 2547 มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันพุธ ที่ 11 พฤษภาคม 2548

ระเบียบกรมการขนส่งทางบกว่าด้วยการรับจดทะเบียนรถจักรยานยนต์สาธารณะ (ฉบับที่ 3) ราชกิจจา-นุเบกษา หน้า 1 เล่ม 138 ตอนพิเศษ 151 ง 7 กรกฎาคม 2564

วัฒนธรรมชุบแป้งทอด.(2557). วินนี้ไม่มีกั๊ก. ออกอากาศ 30 มกราคม 2557 สืบค้นจาก https://program.thaipbs.or.th/Deepfriedculture/episodes/31104

สังศิต พิริยะรังสรรค์. (2546). เศรษฐกิจนอกระบบ ผู้มีอิทธิพล และความมั่นคงของมนุษย์. การสัมมนาวิชาการประจำปี 2546 เรื่อง ความมั่นคงของมนุษย์ กลุ่มที่ 3 การเพิ่มความมั่นคงทางเศรษฐกิจ โดย มูลนิธิชัยพัฒนา กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ สำนักงานคณะกรรมการการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข และ สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย, วันที่ 29-30 พฤศจิกายน 2546 ณ โรงแรมแอมบาสซาเตอร์ จอมเทียน ชลบุรี 7

สำนักงานขนส่งจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. (2564). สถิติดำเนินการเกี่ยวกับทะเบียนและภาษีรถ

ตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์ สำนักงานขนส่งจังหวัดพระนครศรีอยุทธยา เดือนมกราคม 2564 ถึงเดือนสิงหาคม 2564

สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งสาธารณะ (สนข.) โครงการศึกษาพัฒนาเมืองกับระบบโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่ง TOD คมนาคมสร้างเมือง เมืองสร้างสุข สุขสร้างได้. (2562). การจัดทำผังเฉพาะเมืองต้นแบบ TOD ในพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา วันศุกร์ที่ 21 มิถุนายน 2562 เวลา 08:00 น. ถึง 12:00 น. ณ ห้อง เอสเพรสโซ่ โรงแรมเดอะคาราลิ คาซ่า รีสอร์ท อำเภอพระนครศรีอยุธยาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

CERIO, Calyd T. (2017). THE MOTORCYCLE TAXI PHENOMENON IN THE PHILIPPINES: IS THE DEMISE OF JEEPNEY POSSIBLE?. International Journal of Tourism & Hospitality Reviews, 4(2), 44-52

Gilles Deleuze and Felix Guatari. (1987) “Introduction: Rhizome,” A Thousand Plateaus.

-25.

GMM GRAMMY OFFICIAL. (2015). มอไซค์รับจ้าง – Loso OFFICIAL MV สืบค้นจากhttps://www.youtube.com/watch?v=vD54kahIk-8

Grab. (2022). Grab Bike (Win). สืบค้นจาก https://www.grab.com/th/transport/bike/

Ibrahim Basil. Bize Amiel. (2018).Waiting Together: The Motorcycle Taxi Stand as Nairobi Infrastructure. JSTOR Journals, 65(2), 73-92

Jenkins, Jack Mokuwa, Esther Yei Peters, Krijn Richards, Paul. (2020). Changing women's lives and livelihoods: motorcycle taxis in rural Liberia and Sierra Leone. Transport, 173(2),132-143,

Kemajou, Armel Jaligot, Remi Bosch, Marti Chenal, Jerome. (2019) .Assessing motorcycle taxi activity in Cameroon using GPS devices. Journal of Transport Geography, 79(C), 1-1

Nattapong Punnoi. (2018). The Motorcycle Taxi Driver as a Community Reporter: Guidelines for the Promotion of a Marginalized Group’s Participation in the Improvement of Public Space by Using Information and Communication Technology. Nakhara: Journal of Environmental Design and Planning, 14, 145-160

Qian Junxi. (2015).No right to the street : Motorcycle taxis, discourse production and the regulation of unruly mobility. Urban Studies, 52(15):2922-2947

Rémi Jaligot Armel Kemajou Jerome Chenal.(2017). A new approach to spatial analysis of motorcycle taxis activities – the case of Port-au-Prince, Haiti. Urban, Planning and Transport Research, 5(1), 78-91.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-05-01