การเจริญสติ: กระบวนการสร้างเสริมพลังทางจิตผ่านแอปพลิเคชัน “ธรรมจักร-FBW”

ผู้แต่ง

  • ภารดี เจริญธนมิตร

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัยเรื่องการเจริญสติ: กระบวนการสร้างเสริมพลังทางจิตผ่านแอปพลิเคชัน “ธรรมจักร-FBW” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการเจริญสติ และการสวดมนต์ของชาวพุทธผ่านแอปพลิเคชัน “ธรรมจักร-FBW” วิเคราะห์กระบวนการสร้างเสริมพลังทางจิตผ่านแอปพลิเคชัน“ธรรมจักร-FBW”ต่อการปฏิบัติตามหลักอริยมรรค์มีองค์ ๘ และเพื่อนำเสนอแนวทาง และกระบวนการสร้างเสริมพลังทางจิตบนแอปพลิเคชัน โดยมีระเบียบวิธีการวิจัยแบบผสานวิธีระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ  โดยใช้แบบสอบถาม จำนวน ๔๐๐ รูป/ท่าน และแบบสัมภาษณ์ จำนวน ๑๗ รูป/ท่าน และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเพื่อทดสอบสมมุติฐานวิจัย และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่าปัจจัยพื้นฐานของผู้ใช้งานแอปพลเคชัน มีช่วงเวลาในการเข้าร่วมกิจกรรม ๑๗.๐๐ - ๒๐.๐๐ น. มีสาเหตุในการร่วมกิจกรรม คือ ต้องการพบความสุข ชอบกิจกรรมที่เสริมสร้างพลังทางจิต คือ การเจริญภาวนา และผู้ใช้งานแปพลิเคชันสามารถปฏิบัติตามหลักอริยมรรค มีองค์ ๘ คือ ๑) สัมมาทิฐิ ๒) สัมมาสังกัปปะ ๓) สัมมาวาจา ๔) สัมมากัมมันตะ ๕) สัมมาอาชีวะ ๖) สัมมาวายามะ ๗) สัมมาสติ และ ๘) สัมมาสมาธิ อยู่ในระดับมาก ไม่แตกต่างกัน

 

คำสำคัญ: ธรรมจักร สวดมนต์ การเจริญสติ แอปพลิเคชัน กระบวนการสร้างเสริมพลังทางจิต

References

กัญญา นพเกตุ. (๒๕๖๐). ปัจจัยทำนายความผาสุกทางใจของผู้สูงอายุที่เป็นโรคเบาหวานที่มารับบริการ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ. Journal of Nursing and Health care, ๓๕(๔), ๑๒๒.

โกวิทย์ พวงงาม (๒๕๔๘). พฤติกรรมการมีส่วนร่วมของประชาชนต่อกิจกรรมชุมชน: ศึกษากรณี. ชุมชน

ซอยลิเกเทศบาลเมืองฉะเชิงเทรา. ปัญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต,(๘).

จินตนา สุจจานันท์. (๒๕๔๙). การศึกษาและการพัฒนาชุมชน. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ดร.นพ.ธวัชชัย กมลธรรม. (๒๐ สิหาคม ๒๕๕๗). สวดมนต์บำบัดแบบไทย รักษาใจ ไม่ต้องใช้ยา. (ภาวิณี

เทพคำราม, ผู้สัมภาษณ์)

ถวิลวดี บุรีกุล. (๒๕๔๓). แนวคิดของการมีส่วนร่วมในระบอบประชาธิปไตย. จดหมายข่าวสถาบัน

พระปกเกล้า. ๒(๘): ๔-๖.

ประเวศ วะสี. (๒๕๔๒). บนเส้นทางใหม่การส่งเสริมสุขภาพ อภิวัฒน์ชีวิตและสังคม.

กรุงเทพมหานคร:สำนักพิมพ์หมอชาวบ้าน.

พระครูปลัดณัฐพล จนฺทิโก, ดร. (๒๐ มิถุนายน ๒๕๖๒). การพัฒนาโมบายแอปพลิเคชัน (Mobile

Application) “วัดในบ้าน” เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตของผู้สูงอายุตามหลักไตรสิกขา. วารสาร

บัณฑิตศึกษามหาจุฬาเชียงใหม่

พระสุกฤษฎิ์ ภทฺรเมธี (มาระศรี). (มกราคม–มีนาคม ๒๕๖๓). การวิเคราะห์พุทธจริยศาสตร์ที่ปรากฏในธัมม

จักกัปปวัตตนสูตร. วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, (๗), ๑.

พิณนภา แสงสาคร. (๒๕๕๕). การสังเคราะห์องค์ความรู้เกี่ยวกับสุขภาวะทางจิตวิญญาณ ในบริบทของ

สังคมไทย. วารสาร พฤติกรรมศาสตร์, ๑๘(๑), ๘๕-๙๔.

ไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม และพรรณทิพย์ เพชรมาก. (๒๕๕๑). การบริหารสังคม ศาสตร์แห่งศตวรรษเพื่อ

สังคมไทยและสังคมโลก. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน.

พระพุทธโฆสาจารย์. คัมภีร์วิสุทธิมรรค. หน้า ๑๕๙ - ๒๐๒.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (๒๕๔๙). พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงขยายความ. พิมพ์ครั้งที่ ๑๑.

กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์บริษัท สหธรรมิก จำกัด), หน้า ๓๐๕-๓๐๗, ๘๐๔ และ ๙๐๒

พุทธทาสภิกขุ. (๒๕๔๙). คู่มือปฏิบัติอานาปานสติสมบูรณ์แบบ. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา, ๒๔.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาบาลีฉบับมหาจุฬาเตปิฏกํ ๒๕๐๐.กรุงเทพมหานคร:โรง

พิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๕.

มหามกุฏราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาบาลีฉบับสฺยามรฏฺฐเตปิฏกํ ๒๕๒๕. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์

มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๒๕.

พุทธทาส อินทปญฺโญ. (๒๕๕๔). เสียงธรรมพุทธทาส. กรุงเทพฯ : กลุ่มอยู่เย็นเป็นประโยชน์

ยุวัฒน์ วุฒิเมธี. (๒๕๒๖). การพัฒนาชุมชนจากทฤษฎีสู่การปฏิวัติ. กรุงเทพฯ: บางกอกบล็อก.

วงศ์ทิพย์, อ. (๒๕๕๙). สุขวิทยาส่วนบุคคล : องค์ประกอบสำคัญของสุขภาพ. เชียงใหม่:

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

วิชัย ชูจิต. (๒๔ มิถุนายน ๒๕๕๕). การสร้างพลังชุมชน. สำนักงานสาธารณสุขอำเภอตะกั่วทุ่ง

วิพุธ พูลเจริญ. (๒๕๔๔). สุขภาพ :อุดมการณ์และยุทธศาสตร์ทางสังคม. รายงานการศึกษาประกอบการ

ปฏิรูประบบสุขภาพและการร่างพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. นนทบุรี.

วชิรวัชร งามละม่อม. (๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙). ทฤษฎีการมีส่วนร่วม. Media-Learning-of-Public-

Administration.

สินธุเสน เขจรบุตร. (๒๕๖๓). ขุนเขาเกาสมอง. กรุงเทพ: สำนักพิมพ์ภูตะวัน.

สุชีพ ปุญญานุภาพ.(๒๕๔๐). ศาสนาเปรียบเทียบ. พิมพ์ครั้งที่ ๔. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ มหามกุฏราชวิทยาลัย.

สุธี วรประดิษฐ์. (๒๕๕๓). การมีส่วนร่วมของชุมชนงานสารสนเทศสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ

และการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดตราด. สำนักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดตราด.

อคิน รพีพัฒน์. (๒๕๔๗). การมีส่วนร่วมของประชาชนในงานพัฒนา. กรุงเทพฯ : ศูนย์การศึกษา นโยบาย

สาธารณสุข.

อุทัย บุญประเสริฐ. (๒๕๔๒). รายงานการวิจัย การศึกษาแนวทางการบริหารและการจัดการศึกษาของ

สถานศึกษาในรูปแบบการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน. กรุงเทพฯ: โครงการวิจัยภายใต้การสนับสนุนของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี.

อุ่นเอื้อ สิงห์คำ. (มกราคม - เมษายน ๒๕๕๗). กระบวนการและผลของการสร้างเสริมสุขภาวะองค์รวมวิถี

พุทธ. วรสารสมาคมนักวิจัย, (๑๙), ๑.

Campbell, Roald F. and Ramseyer, John A. (1955). The Dynamics of School Community

Relationships. New York: Allyn and Bacon.

Cohen, J. and Uphoff. (1977). Rural Development Participation: Concept and Measures for

Project Design Implementation and Evaluation. London: Rural Development Center: Cornell University press.

Della Santina, P. The Fundamentals of Buddhism. Taipei, Taiwan: Chico Dharma Study

Foundation, 1997, p.59

Dr.Fabrizio Didonna Editor. Clinical Handbook of Mindfulness. Department of Psychiatry

Casa di Cura Villa Margherita Arcugnano, Vicenza - Italy. P.18

D. Roland D. Weerasuria. The path of freedom–Vimuttimagga (Balcombe, Balcombe Place,

Colombo 8, Sri lanka 1977), p 63.

Davids, T. & Stede, W. (Eds.) (1921/2001). Pali-English dictionary. New Delhi, India:Munshiram

Manoharlal Publishers Pvt, Ltd. 1959, p. 672

Gibson, C. H. (1991). A concept analysis of empowerment. Journal of advanced nursing,

(3), 354-361.

Huntington, S. & Nelson, S. (1975). No easy choice: political participation in developing

countries. New York: Harvard University Press.

Kuhn, Thomas. (1970). The Structure of Scientific Revolution. Chicago: University of Chicago

Press.

Pender, N. .J. (1987). Health promotion in nursing practice. Second Edition. Connecticut:

Appleton & Lange.

United Nations. Office on Drugs and Crime, 2021.

United Nations. (1981). Yearbook of International Trade Statistics. United Nations: UN Press.

Rappaport, J. (1985). The power of empowerment language. Social policy, 16(2), 15-21.

World Health Organization (WHO). (2000). The world health report 2000: Health systems

improving performance. Geneva: WHO.

________. (1998). Adelaide Recommendation on healthy Public Policy. WHO. Geneva.

________. Global Burden of Disease. World Health Organization, 2014.

Zimmerman, M. A., & Rappaport, J. (1988). Citizen participation, perceived control, and

psychological empowerment. American Journal of community psychology, 16(5), 725-750.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-31