การตัดสินใจเข้าศึกษาในโรงเรียนพระปริยัติธรรม กลุ่มที่ 13
คำสำคัญ:
การตัดสินใจ, การศึกษา, โรงเรียนพระปริยัติธรรมบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการเข้าศึกษาในโรงเรียนพระปริยัติธรรม กลุ่มที่13 และ (2) เปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคลของพระสงฆ์และสามเณรกับการตัดสินใจเข้าศึกษาในโรงเรียนพระปริยัติธรรม กลุ่มที่13 รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างคือ พระสงฆ์และสามเณรของโรงเรียน พระปริยัติธรรม กลุ่มที่ 13 จำนวน 216 ราย โดยใช้ตารางของ Krejcie & Morgan เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ด้วยค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า (1) การเข้าศึกษาในโรงเรียนพระปริยัติธรรม กลุ่มที่13 ในภาพรวม อยู่ในระดับมาก โดยภาพลักษณ์ของสถานศึกษามีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด รองลงมาคือ หลักสูตร และ สภาพทางครอบครัว ตามลำดับ (2) พระสงฆ์และสามเณรที่มีอายุ อายุพรรษา ระดับการศึกษา และภูมิลำเนา แตกต่างกัน มีการตัดสินใจเข้าศึกษาในโรงเรียนพระปริยัติธรรม กลุ่มที่ 13 ไม่แตกต่างกัน ข้อค้นพบจาก งานวิจัยนี้ โรงเรียนพระปริยัติธรรม กลุ่มที่ 13 สามารถใช้กำหนดแผนยุทธศาสตร์การรับนักเรียนให้สอดคล้องตามความต้องการและความสนใจของผู้เรียน
References
กองพุทธศาสนศึกษา. (2564). การศึกษาสงฆ์. สืบค้นเมื่อ มกราคม 20, 2565. จาก
https://deb.onab.go.th/th/page/item/index/id/13
จิระจิตต์ ราคา. (2559). พฤติกรรมในองค์กร.กรุงเทพฯ : ชวนพิมพ์.
ชูชัย เทพสาร. (2556). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับกระบวนการตัดสินใจเลือกบริษัทรักษา
ความปลอดภัย: กรณีศึกษาผู้ประกอบการซื้อ-ขายแลกเปลี่ยนรถยนต์
ในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ดวงนภา เขมะลักษณ์. (2557). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกใช้ศูนย์บริการรถยนต์
ในเขตอำเภอเมืองจังหวัดนครพนม. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจบัณฑิต. กรุงเทพฯ:
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ปฐมา อาแว และนิยาวาเฮร์ ไพบูลย์. (2562). การตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาตรีของนักศึกษา
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. รายงานการวิจัย. ปัตตานี:
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตปัตตานี.
พระธวัชชัย แก้วสิงห์. (2560). อัตลักษณ์โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษาของคณะสงฆ์
จีนนิกาย. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
พระมหาสุวัฒน์ เสนเพ็ง, ณรงค์ พิมสาร และ ณกมล ปุญชเขตต์ทิกุล. (2563). รูปแบบการบริหารโรงเรียน
พระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21.
วารสารครุศาสตร์ปริทรรศน์ฯ, 7(3), 266-282.
ภัทรวดี แก้วประดับ. (2556). การตัดสินใจเลือกสมาชิกสภาเทศบาลตำบลบ้านค่าย.
การค้นค้วาอิสระรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
โรงเรียนโพธิทัตราชวิทยาลัย. (2564). ข้อทั่วไปของโรงเรียน. สืบค้นเมื่อ มกราคม 20, 2565. จาก
https://www.schoolweb.in.th/photithut/news.php?view=20161103121209
eOSXMgb
โรงเรียนมังกรกมลาวาสวิทยาลัย. (2564). ข้อทั่วไปของโรงเรียน. สืบค้นเมื่อ มกราคม 20, 2565.
โรงเรียนวัดหมื่นพุทธวิทยา. (2564). ข้อทั่วไปของโรงเรียน. สืบค้นเมื่อ มกราคม 20, 2565. จาก
วิชัย โถสุวรรณจินดา. (2558). ความลับองค์การ: พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่ (พิมพ์ครั้งที่ 2).
กรุงเทพฯ: ดีไลท์.
ศรีสุนันท์ สุขถาวร และกิตติศักดิ์ อังคะนาวิน. (2562). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อ
ระดับปริญญาตรี คณะการบริหารและจัดการ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร
ลาดกระบัง กรณีศึกษานักเรียน Admission รับตรง ปีการศึกษา 2561. วารสารวิชาการ
สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ. 7(2), 199-215.
สมทรัพย์ อติชาติบุตร. (2554). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจศึกษาต่อระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ของนักเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษาสังกัดกรมสามัญศึกษาจังหวัดกาญจนบุรี.
วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
เสรี สิงห์โงน และสาลินี จันทร์เจริญ. (2561). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาต่อหลักสูตร
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาจิตวิทยาเด็กวัยรุ่นและครอบครัวมหาวิทยาลัยมหิดล.
วารสาร Mahidol R2R e-Journal. 5(2), 94-107.
Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities.
Educational and Psychological Measurement. 30(3), pp. 607-610.
Ofstad, H. (1961). An Inquiryinto the freedom of decision. Oslo: Universities Press.
Stoner, James, A. F. (1978). Management. New York: Prentice-Hall,
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 มจร การพัฒนาสังคม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.