ปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อการเลือกซื้อวัตถุดิบผ่านระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของผู้ประกอบการร้านอาหาร
คำสำคัญ:
การเลือกซื้อวัตถุดิบ, พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์, ผู้ประกอบการร้านอาหารบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อการเลือกซื้อวัตถุดิบผ่านระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของผู้ประกอบการร้านอาหาร รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ประกอบการร้านอาหารไทยในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 422 ราย ใช้วิธีคัดเลือกแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลสถิติพรรณนา และแบบจำลองสมการโครงสร้าง ผลการวิจัยพบว่า นโยบายของผู้ประกอบการ ส่วนประสมทางการตลาด คุณภาพการบริการบนแพลทฟอร์ม ทักษะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล และการยอมรับในเทคโนโลยี มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อวัตถุดิบผ่านระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ตามลำดับ ผลของการวิจัยนี้ สามารถนำไปใช้ในการวางแผน และเพิ่มศักยภาพการแข่งขันของผู้ประกอบการร้านอาหารขนาดเล็กให้สามารถแข่งขันกับร้านอาหารขนาดใหญ่ที่มีสาขาได้โดยการลดต้นทุน
คำสำคัญ: : การเลือกซื้อวัตถุดิบ / พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ / ผู้ประกอบการร้านอาหาร
References
กรมพัฒนาธุรกิจการค้า. (2561). พาณิชย์จัดงาน e-Commerce Big Bang : วิถีการค้าไทยสู่วิถีออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 10 กันยายน 2564, จาก http://www.dbd.go.th/ewt_news.php?nid==469409103&
filename=index
โกวิท ธารีรัตนาวิบูลย์. (2561). แนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพและการแข่งขันในการขายและกระจายสินค้าผ่านระบบอีคอมเมิร์ชของผู้ประกอบการรายย่อยไทยสู่ตลาดโลก. ในรายงานการวิจัย. กรงเทพฯ: วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร.
ชวณัฏฐ์ ด่านวิริยะกุล. (2560). การนำระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ มาใช้ในธุรกิจร้านขายยา กรณีศึกษา จังหวัดนครปฐม. ในรายงานการวิจัย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ชูชัย สมิทธิไกร. (2558). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ณัฏฐนันท์ พิธิวัตโชติกุล. (2560). การยอมรับเทคโนโลยีโทรศัพท์มือถือ การตลาดผ่านสื่อสังคมออนไลน์และพฤติกรรมผู้บริโภคออนไลน์ที่ส่งผลต่อความตั้งใจซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านแอปพลิเคชันของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
พลวัชร์ จันทรมงคล และรัชดา ภักดียิ่ง. (2564). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดและคุณภาพสารสนเทศ ที่ส่งผลต่อการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์. Journal of Roi Kaensarn Academi, 6(5), 118-130.
ภัทรภณ ศิลารักษ์. (2564). การปรับตัวบทบาทภาษาจีนภายใต้บริบทวิถีชีวิตปกติใหม่ในยุคศตวรรษที่ 21. วารสารวิชาการภาษาและวััฒนธรรมจีน, 8(1), 61-72.
วสันต์ จาติกวณิช. (2563). Purchaseplus แพลตฟอร์มช่วยโรงแรมบริหารจัดการวัตถุดิบออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 23 กันยายน 2564, จาก https://mgronline.com/cyberbiz/detail/9630000129181.
ศริศา บุญประเสริฐ. (2560). ปัจจัยที่สงผลตอการตัดสินใจซื้อสินคาแฟชั่นผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์เฟซบุก (Facebook). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
Keith, D. (1992). Human Behavior at Work Human Relation and Organization Behavior. Fourth edition. New York : McGraw-Hill.
Kline, R. B. (2005). Principle and practice of structural equation modeling. NY: Guilford.
Lee, H.M., Lee, C., & Wu, C. (2011). Brand Image Strategy Affects Brand Equity after M&A.
European Journal of Marketing, 45(7/8), 1091-1111.
Sanayei, A. & Rajabion, L. (2009). Critical successful factors contributing to E-Commerce adoption among Iranian SMEs. International Journal of Information Science and Management, 2(7).415-429.
Spechler, J. W. (1988). When America Does It Right: Case Studies in Service Quality,
Institute of Industrial Engineer. Norcross, GA.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 มจร การพัฒนาสังคม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.