ปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อความภักดีของลูกค้าในธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
คำสำคัญ:
ความภักดีของลูกค้า, ดิจิทัลแพลตฟอร์ม, ธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อความภักดีของลูกค้าในธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างคือ ประชาชนในกรุงเทพมหานครที่เคยซื้อสินค้าหรือบริการผ่านธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์อย่างน้อย 1 ครั้ง จำนวน 440 ราย ใช้วิธีคัดเลือกแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลสถิติพรรณนา และแบบจำลองสมการโครงสร้าง ผลการวิจัยพบว่า ผลการวิจัยพบว่า ส่วนประสมทางการตลาด มีอิทธิพลโดยรวมต่อความภักดีของลูกค้า ในธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์มากที่สุด รองลงมาคือ ความพึงพอใจของลูกค้า การรับรู้เกี่ยวกับสินค้าหรือบริการ และพฤติกรรมของผู้บริโภค ตามลำดับ ผลของการวิจัยนี้ สามารถนำไปใช้ในการวางแผนกลยุทธ์การพัฒนาธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ให้ตรงตามความต้องการของตลาด และกำหนดแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริการของธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
References
กรมการปกครอง. (2564). สถิติจำนวนประชากรและบ้าน ปี 2564. สืบค้นเมื่อ 12 กันยายน 2564, จาก https://stat.bora.dopa.go.th/stat/statnew/statyear/#/TableTemplate/Area/statpop
จิรัฐ ชวนชม, นงลักษณ์ โพธิ์ไพจิตร, ชิดชม กันจุฬา, และพัชรพงศ์ ชวนชม. (2560). คุณภาพการบริการคือ ความคาดหวังของลูกค้า. วารสารการบัญชีและการจัดการมหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 9(2), 1-15.
ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2563). ผลกระทบจากธุรกิจ e-commerce ต่อผู้ประกอบการท้องถิ่น. สืบค้นเมื่อ 12 กันยายน 2564, จาก https://www.bot.or.th/Thai/MonetaryPolicy/ EconomicConditions/AAA/ECommerce_paper.pdf
พนัชกร สิมะขอรบุญ และตติยา คู่มงคลชัย. (2561). ปัจจัยเหตุของความพึงพอใจที่มีต่อความภักดีของลูกค้า: กรณีเว็บไซต์บิวตี้คูล. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, Silpakorn University, 11(3), 3121-3139.
สุภัสสร ศรีมนตรี และภิเษก ชัยนิรันดร์. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความภักดีของลูกค้าในพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์. วารสารวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ มข, 8(1), 151-166.
สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. (2563). รายงานผลการสำรวจมูลค่าพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ไทย ปี 2562. สืบค้นเมื่อ ตุลาคม 10, 2564. จาก https://www.etda.or.th/th/
Useful-Resource/publications/Value-of-e-Commerce-Survey-in-Thailand-2019-Slides.aspx
อนุวัต สงสม. (2561). ปัจจัยเชิงเหตุของความภักดีทางอิเล็กทรอนิกส์: กรณีศึกษาการซื้อสินค้าจากร้านค้าออนไลน์ของกลุ่มผู้บริโภคเจเนอร์เรชั่นซี. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, Silpakorn University, 11(1), 2515-2529.
Anderson. (2019). Digital Platforms, Porosity, and Panorama. Survillance & Society, 17(1/2), 14–20.
Blaschke, M., Haki, Z., Aier, S. & Winter, R. (2018). Capabilities for Digital Platform Survival: Insights from a Business-to-Business Digital Platform.Completed Research Paper. Thirty Ninth International Conference on Information Systems, SanFrancisco.
Fujun, L., Mitch, G., & Barry, J. B. (2009). How quality, value, image and satisfaction create loyalty at a Chinese telecom. Journal of Business Research.62(10), 980–986.
Gronholdt, Lars, Martensen, Anne, Kristensen, Kai. (2000). The Drivers of Customer Satisfaction
and Loyalty: Cross-industry Findings from Denmark. Total Quality Management & Business Excellence, 11 (4-6), 509-514.
Kline, R. B. (2005). Principle and practice of structural equation modeling. NY: Guilford.
Kotler, P. (1994). Marketing Management. 8th Ed., Prentice-Hall: New Jersey.
Loh, X. R. (2014). Investigation of the determinants of trust in internet shopping and its relationship with online purchases intention. UTAR,
Lovelock, C. & Wirtz, J. (2016) . Service Marketing People, Technology, Strategy. Miami, USA: World Scientific.
Moriuchi & Takahashi (2015) Moriuchi, E., & Takahashi, I. (2015). Satisfaction trust and loyalty of repeat online consumer within the Japanese online supermarket trade. Australasian Marketing Journal, 24, 146-156.
Oliver, R. L. (1999). Satisfaction: A behavioral perspective on the consumer. NY:McGraw-Hill.
Prakoso, A.F., Nurul, R., Wulandari, A. & Trisnawati, N. (2017). Reliability, Responsiveness, Assurance, Empathy, and Tangible: Still Can Satisfy The Customer?”. International Journal of Business and Management Invention. 6(3), 68-75.
Schiffman, L. & Kanuk, L. (2010). Consumer Behavior. Pearson
Tu, Chien-Chung, Fang, Kwoting, & Lin, Chwen-Yea. (2012). Perceived Ease of Use, Trust, and Satisfaction as Determinants of Loyalty in e-Auction Marketplace. Journal of Computer, 7 (3), 645-652.
Tuteja, G., Gupta, S., & Garg, V. (2016). Consumer Trust in Internet Shopping: An Empirical Investigation. Paradigm, 20(2), 191-215.
Yoon, H. S., & Occeña, L. G. (2015). Influencing factors of trust in consumer-to-Consumer electronic commerce with gender and age. International Journal of Information Management, 35(3), 352-363.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 มจร การพัฒนาสังคม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.