แพลตฟอร์มการศึกษาของภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
คำสำคัญ:
แพลตฟอร์ม, UX Design, โดเมนบทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ เพื่อศึกษาหลักสูตรของภาคสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ 2) เพื่อสร้างแพลตฟอร์มของหลักสูตรของภาคสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ 3) เพื่อทดลองใช้แพลตฟอร์มของหลักสูตรของภาคสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาคณะสังคมศาสตร์ 4) เพื่อนำเสนอเผยแพร่เพื่อการใช้งานค้นหาการเข้ามาศึกษางาน ของหลักสูตรของภาคสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พื้นที่ทำการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ โรงเรียนชิโนรสวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร และโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้าสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ 6 โรงเรียนละ 120 คน รวม 240 คน ซึ่งเป็นประชาชนทั่วไปที่มีความสนใจที่อยากจเข้าเรียนหรือศึกษาต่อ อีก 17 คน รวมผู้เข้ามาทดลองใช้ทั้งสิ้น 257 คน
ผลการวิจัย พบว่า
- แพลตฟอร์ม การศึกษาของภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พบว่า ในปัจจุบันการมีการใช้แพลตฟอร์มซึ่งเป็นของส่วนร่วม ส่วนใหญ่แล้วผู้ที่ดูแลระบบจะเป็นตัวของมหาวิทยาลัยแม่ เช่น สำหนักเทคโนโลยี บางที่เราจะเข้าไปในส่วนตัวของหลักสูตร บางครั้งทางคณะสังคมศาสตร์ก็ต้องผ่าน ตัวใหญ่ในการเข้าถึงข้อมูล การเข้าถึงมันจึงข้างที่จะยุงยาก หรือ ยังเป็นรูปแบบเก่าๆอยู่ โดยส่วนใหญ่ผู้ที่ทำจะเป็นผู้ดูแลทำโดยไม่ได้ถามจากความคิดเห็นของทางหลักสูตรหรือทางคณะโดยตรงที่มีความต้องการรูปแบบไหนที่มันจะตอบโจทย์และเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย
- สร้างแพลตฟอร์มของหลักสูตรของภาคสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ พบว่า UX Design จะทำงานเกี่ยวกับการค้นคว้าหาข้อมูล ทำความเข้าใจถึงความต้องการของผู้ใช้งาน เพื่อให้ทราบถึงปัญหาของผู้ใช้งาน เฟ้นหาไอเดียที่จะสร้างสรรค์ ออกแบบสินค้าและบริการให้ตรงความต้องการผู้ใช้มากที่สุด ซึ่งหน้าที่หลัก ๆ ของ UX Design มีดังนี้ คือ รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับผู้ใช้งาน รวมถึงทำการค้นคว้า ออกแบบ ทดสอบ และประเมินผลสิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับผู้ใช้งาน และทำการออกแบบ
- ทดลองใช้แพลตฟอร์มของหลักสูตรของภาคสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาคณะสังคมศาสตร์ พบว่า โรงเรียนชิโนรสวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร และโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้าสมุทรปราการ จังหวัดสมุทรปราการ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี่ที่ 6 โรงเรียนละ 120 คน รวม 240 คน ซึ่งเป็นประชาชนทั่วไปที่มีความสนใจที่อยากจเข้าเรียนหรือศึกษาต่อ อีก 17 คน รวมผู้เข้ามาทดลองใช้ทั้งสิ้น 257 คน การประเมินความพึงพอใจของการใช้งานอยู่ในระดับ มาก
- นำเสนอเผยแพร่เพื่อการใช้งานค้นหาการเข้ามาศึกษางาน ของหลักสูตรของภาคสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พบว่า เว็บไซต์ให้ประสบความสำเร็จสิ่งที่เป็นหัวใจหลักและผู้ทำเว็บไซต์ควรให้ความสำคัญคือ โดเมน หรือโดเมนเนม เพราะชื่อมีส่วนที่ทำให้กลุ่มเป้าหมายที่เราต้องการนำเสนอเว็บไซต์ไปถึงเกิดความสนใจและอยากเข้าชมเว็บไซต์ของเรามากขึ้น แพลตฟอร์มที่สมบูรณ์แก่ทางหลักสูตรภาควิชาสังคมวิทยาและ มานุษยวิทยา หลังจากที่ทำการสร้างเส็จสมบูรณ์ ทั้งรูปแบบที่เปิดใช้งานบนคอมพิวเตอร์ PC แทบแลต ไอแพต หรือ โทรศัพท์มือถือไม่ว่าจะเป็นรุ่นระบบปฏิบัติการ Android และ IOS ที่แพลตฟอร์มของเรารองรับทั้ง 2 ระบบของการเข้าใช้งาน
References
อรรคณัฐ วันทนะสมบัติ และเกรียงศักดิ์ ชีระโกวิทขจร. แพลตฟอร์มอีโคนีมีและผลกระทบต่อแรงงาน
ในภาคบริการ : กรณีศึกษาในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิฟรีดริค เอแบร์ท
ร่วมกับสถาบันแรงงานและเศรษฐกิจที่เป็นธรรม, 2561.
เขมรัตน์ บุญหล่อสุวรรณ์. “การศึกษาประสบการณ์การใช้งานดิจิทัลแพลตฟอร์มเพื่อสนับสนุนการ
สอนของครู”. การค้นคว้าอิสระนิเทศศาตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสาร
การตลาดดิจิทัล. (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, 2562.
ศรัณย์พงษ์ เกื้อบุตรและคณะ. “การพัฒนาคู่มือการใช้แพลตฟอร์มการทำงานกูเกิลเพื่อการศึกษาของ
ครูโรงเรียนอ่าวลึก ประชาสรรค์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาตรัง
กระบี่”. การค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัย
ราชภัฏสุราษฎร์ธานี, 2565.
พิณัฐ รุ่งวิทยกุล และวิธวินท์ ชัยวิริยะพงศ์. “การประยุกต์ใช้แชทบอทสำหรับการบริการระดับบัณทิต
ศึกษา”. รายงานวิจัย. ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ : มหาวิทายาลัยศรีนครินทรวิโรฒ,
วิไลวรรณ วงศ์จินดา และคณะ. “แพลตฟอร์มการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาทักษะการเรียนในศตวรรษที่ 21
กลุ่มสาขาวิชาทางการศึกษา”. รายงานวิจัย. คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม : มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ, 2564.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. “รูปแบบการจัดการเรียนรู้ผ่านดิจิทัลแพลตฟอร์ม โดยการมีส่วนร่วม
ของภาคเอกชน”. รายงานวิจัย. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา : กระทรวงศึกษาธิการ,
กิตติพงษ์ พุ่มพวง. “การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยทฤษฎีเชื่อมโยงความรู้ (Connectivism)
ผ่านสื่อสังคมออนไลน์”. วารสารศิลปะศาสตร์ปริทัศน์. ปีที่ 10 ฉบับที่ 19 (2558) :
-13.
เกสิณี ชิวปรีชา. "การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลแพลตฟอร์มในการบริหารสถานศึกษาระบบทวิภาคี ของ
วิทยาลัยเทคนิค สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร”. วารสารปรัชญา
ปริทรรศน์. ปีที 27 ฉบับที่ 1 (มกราคม- มิถุนายน 2565) : 50-58.
จุฬารัตน์ ธรรมประทีป. “การพัฒนาความรู้ในเนื้อหาผนวกวิธีสอนและเทคโนโลยีในการสอน
วิทยาศาสตร์”. วารสารวิจัยและพัฒนาหลักสูตร. ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม - ธันวาคม
: 1 - 13.
ใจทิพย์ ณ สงขลา และศิริเดช สุชีวะ. “การเปลี่ยนผ่านด้วยดิจิทัล : แพลตฟอร์มการเรียนรู้ดิจิทัล
แห่งชาติ”. Journal of Education and Innovative Learning. ปีที่ 1 ฉบับที่ 1
(มกราคม - เมษายน 2564) : ๑๒.
ชัยวัฒน์ แก้วพันงาม. “แนวทางในการผสมผสานดิจิทัลเทคโนโลยีเพื่อการสอนภาษา”. ภาษาปริทัศน์.
ฉบับที่ 33 (2561) : 241 - 266.
ฐิติมา จันทะคีรี. “การเรียนการสอนออนไลน์ในยุคดิจิทัล”. Journal of Modern Learning
Development. ปีที่ 7 ฉบับที่ 10 (พฤศจิกายน 2565) : 349-363
ณฐาพัชร์ วรพงศ์พัชร์ และพงษ์ศักดิ์ ผกามาศ. “การพัฒนาแพลตฟอร์มการจัดการเรียนรู้โดยใช้แนวคิด
คอนสตรัควิสต์หัวข้อทฤษฎีและนวัตกรรมการบริหารการศึกษาสำหรับนิสิตระดับ
บัณฑิตศึกษา”. วารสารศาสตร์มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. ปีที่ 14 ฉบับที่ 2
(2565) : 81-406.
บุษกล ไชยต้นเทือก และภักดี โพธิ์สิงห์. “การใช้นวัตกรรมแพลตฟอร์มเพื่อสังคมไทย”. วารสารการ
บริหารการปกครองและนัวัตกรรมท้องถิ่น. ปีที่ 5 ฉบับที่ 3 (กันยายน - ธันวาคม
: 117 – 130.
ปริศนา มั่นเภา และฐิติยา เนตรวงษ์. “ดิจิทัลแพลตฟอร์มเพื่อยกระดับธุรกิจบริการในยุคโควิด-19”.
วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 (พฤษภาคม –
สิงหาคม 2564) : 57-65.
พงษ์ศักดิ์ ผกามาศ และคณะ. “การพัฒนาแพลตฟอร์มการจัดการเรียนรู้เชิงรุกโดยใช้แนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
เกี่ยวกับระบบไอซีที และนวัตกรรมเพื่อการบริหารการศึกษาสำหรับนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา”.
วารสารการศึกษาและนวัตกรรมการเรียนรู้, ปีที่ 1 ฉบับที่ 3 (กันยายน-ธันวาคม 2564) :
-237.
พระครูปลัดเฉลิมพร อภิวโร. “การดำเนินชีวิตสมัยใหม่สู่ความสำเร็จในการทำงานโดยใช้หลักอิทธิบาท 4”.
วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์. ปีที่ 8 ฉบับที่ 5 (พฤษาคม 2564) : 17 - 26.
พระสุวรรณา อินฺทโชโต (เหือน). “การใช้อิทธิบาท 4 เพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของนักเรียนใน
โรงเรียนมัธยมศึกษา 10 มกราคม 1979 จังหวัดเสียมเรียบ ประเทศกัมพูชา”. วารสาร
มหาจุฬาวิชาการ. ปีที่ 7 ฉบับที่ 3 (2563) : 97 – 108.
พิรงรอง รามสูต. “แพลตฟอร์มดิจิทัล”. วารสารกองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์. ปีที่ 1
ฉบับที่ 2 (เมษายน - มิถุนายน 2565) : 1 - 36.
พิชญ์สินี มะโน. “ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในยุค DIGITAL DISRUPTION ต่อการศึกษา”.
วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม. ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 (มกราคม - เมษายน 2562) : 1 – 6.
พนิตา พงษ์ไพบูลย์, เอมอัชนา นิรันตสุขรัตน์ และกุลชาติ มีทรัพย์หลาก. “แพลตฟอร์มอินเทอร์เน็ตของ
สรรพสิ่ง ฐานรากสำคัญ สู่การสร้างสรรค์นวัตกรรมดิจิทัล”. วารสารวิชาการ กสทช, (2563) : 270 – 286.
สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน). “แพลตฟอร์มการศึกษาสำหรับประเทศไทย 4.0”.
เดอะ โนวเลจ, ปีที่ 1 ฉบับที่ 6 (สิงหาคม - กันยายน 2560) : 5
แสงเดือน เจริญฉิม และคณะ. “SKP: แพลตฟอร์มการสอนคณิตศาสตร์สำหรับครูประถมศึกษา”.
วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด. ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกาคม - ธันวาคม 2565) :
-33.
อุษณีย์ สีม่วงและจักฤษณ์ จันทะคุณ. “การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้กระบวนการแก้ปัญหา DAPIC ผ่านดิจิทัลแพลตฟอร์ม เพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6”. Journal of Modern Learning Development. ปีที่ 7 ฉบับที่ 11 (ธันวาคม) : 281-295.
ธนนันท์ ศรีบุญเรือง. (7 กุมภาพันธ์ 2565). ผลกระทบของโซเชียลมีเดียต่อสุขภาพจิตของวัยรุ่น.
[ออนไลน์]. แหล่งที่มา : https://www.youdee.redcross.or.th[ 7 เมษายน 2566].
ธนภณ สมหวัง. (19 สิงหาคม 2562). “ปฏิรูปการเรียนรู้เด็กไทย ด้วยหัวใจนักปราชญ์”. มติชน
ออนไลน์. [ออนไลน์]. 14 ย่อหน้า. แหล่งที่มา : https://www.matichon.co.th
/article/news_1629760[23 มีนาคม 2566].
วชิระ ทองสุข. แพลตฟอร์ม คืออะไรกันแน่? ทำไมพูดถึงกันบ่อยจัง ยุคนี้ใครไม่รู้ ต้องรู้แล้ว!. [ออนไลน์],
แหล่งที่มา: https://talkatalka.com/blog/what-is-a-platform/ [6 เมษายน 2566].
ไผท ผดุงถิ่น. ดิจิทัลสตาร์ทอัพ แพลตฟอร์มสัญาชาติไทย จะฝ่าวิกฤตโควิดไปได้อย่างไร.
[ออนไลน์]. แหล่งที่มา : https://set.or.th/enterprise[6 เมษายน 2566].
ANUSAK NGUESA. 5 Digital Platform แพลตฟอร์ม ออนไลน์ คือ, [ออนไลน์], แหล่งที่มา :
thonburi-u.ac.th/journal/Document/14-1/Journal14_1_13.pdf[6 เมษายน
.
Erarslan, Ali. “Instagram as an Education Platform for EFL Learners”. TOJET: The
Turkish Online Journal of Educational Technology. Vol. 18 (July 2019):
-69.
Luz, Maria, et al.." The Learning Platform In Distance Higher Education: Student’s
Perceptions". TOJET: The Turkish Online Journal of Educational Technology.
Vol. 20 (January 2019) : 71-95.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 มจร การพัฒนาสังคม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.