การศึกษาแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สังคมศึกษา เพื่อสร้างทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น

ผู้แต่ง

  • พัศวุฒิ สาระ Faculty of Social Science, Srinakharinwirot University
  • สิรวิชญ์ ปันตะ
  • พีรภาส สมพริ้ง
  • ลัลลลิต ประทุมชนกกุล
  • พิมพ์ตะวัน จันทัน

คำสำคัญ:

แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สังคมศึกษา, ทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล, นักเรียนชั้น มัธยมศึกษาตอนต้น

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของการวิจัยเรื่อง การศึกษาแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สังคมศึกษา
เพื่อสร้างทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล มีวัตถุประสงค์ดังนี้ ศึกษาแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ทางสังคมศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลใน 4 ขั้นตอนประกอบด้วย 1) การวางแผนการ
จัดการเรียนรู้ 2) การจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน (ขั้นนำ ขั้นสอน ขั้นสรุป) 3) สื่อการจัดการเรียนรู้ 4) การวัด
ประเมินผลการเรียนรู้งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการค้นคว้าวิจัยเชิงเอกสารและการสัมภาษณ์เชิงลึก
โดยการค้นคว้าวิจัยเชิงเอกสารและการสัมภาษณ์เชิงลึก กลุ่มตัวอย่างใช้การเลือกแบบเจาะจง คือ นักเรียนระดับ
ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 50 คน (จำแนกเป็น 10 กลุ่มผู้เรียน กลุ่มละ 5 คน) และครูผู้สอนรายวิชาสังคม
ศึกษาระดับชั้นมัธยมตอนต้น จำนวน 10 คน รวมทั้งสิ้น 60 คน ผลการวิจัยพบว่า แนวทางการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้สังคมศึกษา เพื่อสร้างทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ประกอบด้วยบทบาทของครูผู้สอน
และนักเรียนมีส่วนร่วมกันในการพัฒนาศักยภาพในการเรียนรู้ทั้งด้านพุทธิพิสัย จิตพิสัย และทักษะพิสัย
ตั้งแต่กระบวนการวางแผนการจัดการเรียนรู้ สู่การในการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนขั้นนำ ขั้นสอน ขั้นสรุป
ร่วมกับการพัฒนาสื่อการจัดการเรียนการสอนและมีการวัดประเมินผลเพื่อพัฒนาผู้เรียน เพื่อสร้างทักษะความ
เข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล อันเป็นทักษะสำคัญในการพัฒนาการศึกษาเพื่อเตรียมความพร้อมพลเมืองไทยให้
เป็นพลเมืองวิวัฒน์ (Global Citizen) และพร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกยุคดิจิทัลและโลกในศตวรรษที่ 21

References

กนก จันทร์ทอง. (2560). การสอนสังคมศึกษาในศตวรรษที่ 21. วารสารวิทยบริการ

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 28(2), 227-241.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2566). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และฉบับปรับปรุง

ปี พ.ศ. 2565. สืบค้นเมื่อ 3 ธันวาคม 2566, จาก

https://academic.obec.go.th/images/document/1559878925_d_1.pdf

กระทรวงศึกษาธิการ. (2566). แผนการศึกษาแห่งชาติ. สืบค้นเมื่อ 3 ธันวาคม 2566, จาก

https://www.moe.go.th/แผนการศึกษาแห่งชาติ-พ-ศ-2560/

กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). คู่มือการบริหารสถานศึกษาขึ้นพื้นฐานที่เป็นนิติบุคคล. กรุงเทพฯ:

องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.

ขวัญหญิง ศรีประเสริฐภาพ. (2565). การสืบค้นข้อมูลและแหล่งเรียนรู้. (เอกสารประกอบการสอน).

กรุงเทพฯ: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ขวัญหญิง ศรีประเสริฐภาพ. (2565). การออกแบบและการผลิตสื่อการเรียนรู้. (เอกสารประกอบการสอน).

กรุงเทพฯ: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (2566). เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน. สืบค้นเมื่อ 3 ธันวาคม

, จาก https://www.sdgmove.com/intro-to-sdgs/

จุฑามาศ เตชะภัททวรกุล. (2563). แนวทางการเตรียมความพร้อมเพื่อส่งเสริมทักษะการทำงานที่หลากหลาย

ของนักศึกษาครูในยุคดิจิทัล. ปริญญานิพนธ์ ค.ม. (ครุศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ถ่ายเอกสาร.

ฐิณัชญสินี รวิชญทรัพย์. (2563). การเพิ่มประสิทธิภาพในการเป็นสำนักงานดิจิทัลของ สำนักงานคณะกรรมการ

กิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ. ปริญญานิพนธ์ รป.ม.

(รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ถ่ายเอกสาร.

ดลนพร วราโพธิ์. (2565). ทฤษฎีและรูปแบบการเรียนรู้ในการสอนสังคมศึกษา. วารสารสหวิทยาการมนุษย์

ศาสตร์และสังคมศาสตร์, 5(3), 791-798.

ทิศนา แขมมณี. (2557). ศาสตร์การสอน องค์ความรู้เพื่อการจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 18).

กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พรธีรา เชี่ยวเชิงงาน. (2563). บทบาทของเทคโนโลยีดิจิทัลต่อการพัฒนากระบวนการบริหารจัดการภาครัฐ.

ปริญญานิพนธ์ รป.ม. (รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์

มหาวิทยาลัย. ถ่ายเอกสาร.

พระสิทธิชัย รินฤทธิ์ และ สุรีพร ชาบุตรบุณฑริก. (2563). การจัดการเรียนการสอนสังคมศึกษาในศตวรรษที่ 21.

Journal of Roi Kaensarn Academ, 5(2), 204-212.

เพ็ญพนอ พ่วงเพ. (2557). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน เพื่อส่งเสริมสมรรถนะการออกแบบกิจกรรม

การเรียนรู้สังคมศึกษา สำหรับนักศึกษาวิชาชีพครู. ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรการสอน).

กรุงเทพฯ: บัณฑิตมหาวิทยาลัยศิลปากร. ถ่ายเอกสาร.

วิทิตา จันทรวารีเลขา. (2563). แนวทางในการสนับสนุนการพัฒนาทักษะบุคลากรในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี

ดิจิทัล (Digital Savvy) ตามแผนงาน Digital Competency: กรณีศึกษา การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง

ประเทศไทย (กฟผ.). ปริญญานิพนธ์ รป.ม. (รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: บัณฑิต

วิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ถ่ายเอกสาร.

สมาธิ นิลวิเศษ และไชยยศ ไพวิทยศิริธรรม. (2562). การวิเคราะห์องค์ประกอบทักษะความเข้าใจและใช้

เทคโนโลยีดิจิทัลของนักศึกษาบัณฑิตศึกษา. Veridian E-Journal Silpakorn University. 2562:2283-

จาก https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E

สำนักงานคณะกรรรมการข้าราชการพลเรือน. (2566). Digital literacy. สืบค้นเมื่อ 3 ธันวาคม 2566,

จาก www.ocsc.go.th/DLProject/mean-dlp

สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน). (2566). 8 ทักษะความเป็นพลเมืองดิจิทัล.

สืบค้น 21 ธันวาคม 2566, จาก https://www.okmd.or.th/okmd-kratooktomkit/4673/

สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (ม.ป.ป.). Digital literacy.

สืบค้น 21 ธันวาคม 2566, จาก https://www.ops.go.th/main/index.php/knowledgeสำนักงานพัฒนารัฐบาลดิจิทัล (องค์การมหาชน). (2566). แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัลของประเทศไทย

พ.ศ. 2566-2570. สืบค้นเมื่อ 3 ธันวาคม 2566, จาก

https://www.dga.or.th/policy-standard/policy-regulation/dga-019/dga-027/dg-plan-2566-

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2566). ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี. สืบค้นเมื่อ 3 ธันวาคม

, จาก http://nscr.nesdc.go.th/ns/

อรอุมา เจริญสุข. (2565). การวัดและการประเมิน. (เอกสารประกอบการสอน). กรุงเทพฯ: คณะศึกษาศาสตร์

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

อุเทน วงหา. (2561). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนสังคมศึกษาโดยประยุกต์แนวคิดชุมชนเป็นฐาน

การเรียนรู้และทฤษฎีการสร้างความรู้เพื่อส่งเสริมความสามารถในการ คิดวิเคราะห์ และความสามารถในการ

สื่อสารของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. วารสาร

ศึกษาศาสตร์, 29(1), 14-29

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-08-31