รูปแบบการยกระดับศักยภาพทางธุรกิจวิสาหกิจชุมชนตะกร้าอยุธยาศิณีโดยทีมมจร.จิตอาสา กบเจา โครงการออมสินยุวพัฒน์รักษ์ถิ่น จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ภาค 14
คำสำคัญ:
ศักยภาพทางธุรกิจ, รูปแบบการยกระดับศักยภาพวิสาหกิจชุมชน, รูปแบบการมีส่วนร่วมขององค์กรเครือข่ายบทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการดำเนินธุรกิจของวิสาหกิจชุมชนตะกร้าอยุธยาศินี (ABCE) ด้วยเกณฑ์ประเมินแบบจำลองความสำเร็จในการประกอบการกีเซนอัมสเตอรดัม (GSADm) และด้วยเกณฑ์ประเมินของโครงการออมสินยุวพัฒน์รักษ์ถิ่น (AOSyprt) ในช่วงก่อน (2561) และหลัง (2562) การพัฒนาโดยทีมมจร.จิตอาสากบเจา (MCUkvt) ใน AOSyprt จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ภาค 14 2) ศึกษารูปแบบและกระบวนการยกระดับศักยภาพทางธุรกิจ (BP) ของ ABCE โดย MCUkvt ทั้ง 5 ด้านคือ 1. การบริหารจัดการ 2. การผลิต/แรงงานและจัดหาวัตถุดิบ 3. การแปรรูปผลิตภัณฑ์และออกแบบบรรจุภัณฑ์ 4. การตลาดและช่องทางจัดจำหน่าย 5. การจัดทำบัญชีธุรกิจ และหลักธรรมในการทำงาน 3) ศึกษารูปแบบการมีส่วนร่วมการยกระดับ BP ของ ABCE ขององค์กรเครือข่าย 4) นำเสนอองค์ความรู้และรูปแบบการยกระดับBP ของ ABCE ต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกศึกษากับผู้ให้ข้อมูลสำคัญ 21 คนจาก 3 ฝ่ายคือ MCUkvt, ABCE, และกลุ่มองค์กรเครือข่าย
ผลพบว่า สภาพการดำเนินธุรกิจของ ABCE ในช่วงหลังการพัฒนาโดย MCUkvt อยู่ในระดับที่สูง/ดีกว่าในช่วงก่อนการพัฒนาทั้งสองเกณฑ์ประเมิน ส่วนรูปแบบการยกระดับ BP คือ PKBAE ที่เป็นกระบวนการพัฒนา 4 ขั้นในทุกด้านของศักยภาพทางธุรกิจคือ 1) Planning 2) Knowledge & Buddhism 3) Action 4) Evaluation ส่วนรูปแบบการมีส่วนร่วมขององค์กรเครือข่ายในการยกระดับ BP ใช้แบบ DIBE คือ 1. Decision Making 2. Implementation 3. Benefits และ 4. Evaluation โดยนำเสนอผลวิจัยในพิธีปิด AOSyprt ปี 2562 และผ่านสื่อออนไลน์ของ ABCE กรมพัฒนาชุมชม ธนาคารออมสิน และมจร.
ส่วนผลติดตามการใช้ประโยชน์ผลวิจัยพบว่า ABCE ยังนำองค์ความรู้ รูปแบบและกระบวนการที่ได้เรียนไปใช้อย่างต่อเนื่องไม่ว่าจะเป็นช่วงโรคระบาดโควิด 19 เกือบ 3 ปี(2563-2565) และอุทกภัยน้ำท่วมพื้นที่เกือบ 3 เดือน (สค.-ตค. 2565) ซึ่งทำให้ชุมชนสามารถทำผลรายได้อย่างน่าพอใจและมีหลักธรรมช่วยให้มีสติและกำลังใจในการดำเนินวิสาหกิจต่อไป
References
พิภพ อุดร. (2555). การเปลี่ยนแปลงประเมินผลสำเร็จด้วย 2C2S, ใน พิภพ อุดรและคณะ. (๒๕๕๕). ธรรมศาสตร์โมเดล. กรุงเทพฯ: คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์
พิภพ อุดร วิทยา ด่านธำรงกูล และดวงใจ หล่อธนวณิชย์. (2555). ธรรมศาสตร์โมเดล. กรุงเทพฯ: คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พระครูพิศิษฎ์ประชานาถ (ประยูร นนฺทิโย), พระมหากฤษฎา กิตฺติโสภโณ และ พระมหาสุนันท์ สุนนฺโท, “การพัฒนาการมีส่วนร่วมของพระสงฆ์ในการพัฒนาชุมชนตามแนววิถีพุทธในจังหวัดสมุทร สงคราม”,
วารสารมจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, ปีที่ 9 ฉ.1 (มกราคม - มีนาคม 2563) : 20-35
พระสุธีรัตนบัณฑิต (อาภากโร) และพระพรหมบัณฑิต (ธมฺมจิตฺโต) (2019). องค์ประกอบรูป แบบและกระบวนการสร้างเครือข่ายการวิจัยเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน.วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์มจร. ปีที่ 7 ฉ.4 (กรกฎาคม - สิงหาคม 2562). 932-933. https://so๐๓.tci-thaijo.org/August 22, 2019
รักษ์ วงษ์สาคร. (2562). พุทธบุคลิกการเป็นผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จทางธุรกิจสำหรับผู้ประกอบธุรกิจร้านขายยาเดี่ยวในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพุทธจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ปีการศึกษา 2562.
รณรงค์ ศรีจันทรานนท์. (2544). ความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธ์กับความสำเร็จของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดย่อมในอุตสาหกรรมแม่พิมพ์โลหะและพลาสติก ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วารสารศิลปศาสตร์ (พิเศษ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ม.ค.-ธ.ค. 2544
สมบัติ นามบุรี (2562). ทฤษฎีการมีส่วนร่วมในงานรัฐประศาสนศาสตร์. วารสารวิจัยวิชาการ ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2562), 183-195
อัตติยา ไชยฤทธ์ิ (2560). การพัฒนาการมีส่วนร่วมของเครือข่ายที่ปรึกษาเพื่อการพัฒนาการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการในจังหวัดจันทบุรี. วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวทิยาลยับูรพา ปีการศึกษา 2560
อุบลวรรณา ภวกานันท์. (2554) บทความวิจัยเรื่อง "ปัจจัยทางจิตวิทยาของความสำเร็จในการประกอบการของผู้ประกอบวิสาหกิจขนาดย่อมการท่องเที่ยวและที่พัก: ความรู้ - รายงานระยะที่ 2 เรื่อง บุคลิกการเป็นผู้ประกอบการ ภูมิความรู้ความชำนาญ และคุณลักษณะเฉพาะบุคคล. วารสารวิจัยสถาบันทรัพย์กรมนุษย์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 มกราคม – มิถุนายน 2554 (หน้า 21-43) ทุนงบประมาณแผ่นดิน โดยสถาบันทรัพย์กรมนุษย์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปี 2553)
อุบลวรรณา ภวกานันท์. (2555). บทความวิจัยเรื่อง "ปัจจัยทางจิตวิทยาของความ สำเร็จในการประกอบการของผู้ประกอบวิสาหกิจขนาดย่อมการท่องเที่ยวและที่พัก: ความรู้ - รายงานระยะที่ 3 เรื่อง สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ กลยุทธ์ในการดำเนินการ บุคลิกการเป็นผู้ประกอบการ และภูมิความรู้ความชำนาญ. วารสาร HRIntelligence สถาบันทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2554 (งานวิจัยนี้ได้รับทุนจากงบประมาณแผ่นดินปี 2553).
อรรจิต พลายงาม. (2550). ความสัมพันธ์ระหว่างกลยุทธ์ทางธุรกิจ ภูมิความรู้ความชำนาญ และความสำเร็จในการประกอบธุรกิจหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (4 - 5 ดาว) ประเภทธุรกิจอาหาร ในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารศิลปศาสตร์ (พิเศษ) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ม.ค.-ธ.ค. 2550
Baiq Maulida Riska Farisa, Gunawan Prayitno, and Dian Dinanti, (2019). Social Capital and Community Participation on Infrastructure Development in Pajaran Village, Malang Regency Indonesia, February 2019 IOP Conference Series Earth and Environmental Science 239:012046
Cohen, John M. and Uphoff. (1980). “Norman Participation’ s Place in Rural Development; Seeking Clarity through Specificity”. World Development. 8, 213-230.
Cooper, A.C., and Dunkelburg, W.C. (1986), Entrepreneurship and Paths to Business Ownership, Strategic Management Journal, Vol. 7, 208-224
Frese, Michael. (1995). Entrepreneurship in East Europe: A general model and empirical
findings. In C.L. Cooper & D.M. Rousseau (Eds.). Trends in Organizational Behavior, 2, 69-81
.-------. (2000). Success and Failure of Microbusiness Owners in Africa: A Psychological Approach. United States of America: Greenwood Publishing Group.
Frese, M. and Kruif, M.D. (2000). Psychological Success Factors of Entrepreneurship in
Africa: A Selective Literature Review Success and Failure of Microbusiness Owners in Africa. The United States of America: Greenwood Publishing Group, Inc.
Keyser, M., de Kruif. M., & Frese, M. (2000). The psychological strategy process and sociodemographic variables as predictors of success in micro- and small-scale business owners in Zambia. In M. Frese (Ed.), Success and failure of microbusiness owners in Africa: A
psychological approach Westport, CT: Greenwood Publications.
Rauch A, & Frese M. (2007). Born to Be an Entrepreneur? Revisiting the Personality Approach to Entrepreneurship. In Baum JR, Frese M, Baron RA, editors, The Psychology of Entrepreneurship. Mahwah: Lawrence Erlbaum Associates. (The organizational Frontiers series).
Rue, L. & Ibrahim, N. (1998). Planning and Performance, Journal of Small Facilitation and Support as Factor Affecting Motivation of Market, no 36. http://www.sciepub.com › reference
Saleh, AS. & Ndubisi, NO. (2006). SME Development in Malaysia: Domestic and Global Challenges. Working Paper 06-03, Department of Economics, University of Wollongong. https://www.researchgate.net/publication/23694715.
Van Gelderen, M., & Frese, M. (1998). Strategic process characteristics of small-scale business owners: Relationships with success in a longitudinal study. In: P.D. Reynolds, W. D. Bygrave, N.M. Carter, S. Manigart, C. M. Mason, G.D. Meyer, & K.G.Small Business Economics volume 15, 165–181
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 มจร การพัฒนาสังคม
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.