A DEVELOPMENT OF ENGLISH READING COMPREHENSION SKILLS TRAINING KITS USING MURDOCH-INTEGRATED APPROACH FOR SIXTH GRADERS OF PHUPHA-NASAK SMALL SCHOOL NETWORK IN CHUMPHON PROVINCE

Main Article Content

Janejira Nakrat
Sirisawas Thongkanluang
Anchalee Sangarwut

Abstract

The purposes of this article were to 1) develop a training kits for reading comprehension skills, 2) to compare students' reading comprehension skills before and after studying with the reading comprehension skills training kits, 3) to compare the academic achievement of students between before and after studying with, and 4) to study students' satisfaction with learning with reading comprehension training kits. The sample consisted of 10 sixth-grade students at Watnongbua School. The instruments used in the research included 6 lesson plans, 6 reading comprehension skills training kits, a 20-item reading comprehension skills test with difficulty values ​​of 0.50 - 0.80, index of discrimination values ​​of 0.20 - 0.40 and reliability value of 0.71, academic achievement test with difficulty values of 0.62 - 0.80, index of discrimination values of 0.20 - 0.40, a reliability value of 0.70, and a 15-item satisfaction questionnaire with a reliability value of 0.92. Data were analyzed using basic statistics, including percentage, mean, and standard deviation, and t-test. The results revealed that 1) the reading comprehension skills training kits based on Murdoch's integrated approach had an efficiency value of 85.17/88.50 and an effectiveness index value of 0.62, which met the criteria. 2) Students’ average post-reading comprehension score was 17.00, higher than the average pre-score (13.10). 3) Students' average post-learning achievement was 17.70, higher than the average pre-learning achievement (14.00), and 4) students' satisfaction with learning with the reading comprehension skills training kits based on Murdoch's integrated approach was found at the highest level.

Article Details

How to Cite
Nakrat, J., Thongkanluang, S., & Sangarwut, A. (2024). A DEVELOPMENT OF ENGLISH READING COMPREHENSION SKILLS TRAINING KITS USING MURDOCH-INTEGRATED APPROACH FOR SIXTH GRADERS OF PHUPHA-NASAK SMALL SCHOOL NETWORK IN CHUMPHON PROVINCE. Journal of Social Science and Cultural, 8(2), 93–106. Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/JSC/article/view/270638
Section
Research Articles

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

เกริก ท่วมกลาง และจินตนา ท่วมกลาง. (2555). การพัฒนาสื่อนวัตกรรมทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: เยลโล่การพิมพ์.

ฐิติมา นนทิจันทร์. (2558). การพัฒนาชุดฝึกทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อจับใจความสำคัญ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. ใน วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอนภาษาอังกฤษ บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.

ประภัสรา โคตะขุน. (2561). การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ MIA. เรียกใช้เมื่อ 14 สิงหาคม 2563 จาก https: //prapasara.blogspot.com/2018/09/mia.html

ฝ่ายกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชุมพร เขต 2. (2562). รายงานสรุปผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2562 ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชุมพร เขต 2. ชุมพร: สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชุมพร เขต 2.

พระกิตติพล เชื้องาม. (2562). การเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านจับใจความของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ระหว่างการสอนโดยใช้หลักการบูรณาการของเมอร์ด็อค (MIA) กับการสอนแบบปกติ. ใน วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

พิชิต ฤทธิ์จรูญ. (2559). เทคนิคการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

รัตติมา แผงอ่อน. (2559). การพัฒนาชุดฝึกทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อจับใจความสำคัญสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. ใน วิทยานิพนธ์ครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.

รัตยา ผลเรือง. (2562). การใช้แนวคิดบูรณาการของเมอร์ด็อคเพื่อพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. ใน วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

ราชกิจจานุเบกษา. (2553). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553. ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 127 ตอนที่ 45 ก หน้า 49 - 53 (22 กรกฎาคม 2553).

แสงระวี ดอนแก้วบัว. (2558). ภาษาศาสตร์สำหรับครูสอนภาษาอังกฤษ. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อภิวันทน์ เพชรแสนค่า. (2562). ผลการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษ เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน โดยใช้การเรียนรู้แบบร่วมมือ เทคนิค LT สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. ใน วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้. มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.

อริญรดา ฝ่ายเป็น. (2560). การวิจัยและพัฒนาชุดฝึกทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. ใน วิทยานิพนธ์ครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยและการประเมินผลการศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

Murdoch, G. S. (1986). A More Integrated Approach to the Teaching of Reading. English Teaching Forum, 34(34), 73-59.