รูปแบบความภักดีต่อการใช้บริการห้างสรรพสินค้าในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

Main Article Content

ชุตินันท์ วิลามาศ
ธีระศักดิ์ ทรัพย์ประเสริฐ
ปราชญ์ พวงเงิน
กนกกาญจน์ กล่อมเกลา
สุตาภัทร จันทร์ประเสริฐ

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นการรับรู้กลยุทธ์การบริหารลูกค้าสัมพันธ์ การรับรู้คุณภาพบริการ ความพึงพอใจในการใช้บริการ และความภักดีในการใช้บริการห้างสรรพสินค้าในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 2) เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ ของรูปแบบความภักดีต่อการใช้บริการห้างสรรพสินค้าในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และ 3) เพื่อศึกษาอิทธิพลทางตรง อิทธิพลทางอ้อม และอิทธิพลรวมของรูปแบบความภักดีต่อการใช้บริการห้างสรรพสินค้าในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากประชากรที่เข้าใช้บริการห้างสรรพสินค้าในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จำนวน 360 คน ซึ่งจัดเก็บข้อมูลเดือน พฤษภาคม - มิถุนายน 2567 สถิติที่ใช้ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ วิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วยสมการโครงสร้าง ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับความคิดเห็นการรับรู้กลยุทธ์การบริหารลูกค้าสัมพันธ์ การรับรู้คุณภาพบริการ ความพึงพอใจในการใช้บริการ และความภักดีในการใช้บริการห้างสรรพสินค้าในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในภาพรวมทุกด้านมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด 2) ความสอดคล้องกลมกลืนของโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ได้เป็นอย่างดี และ 3) การรับรู้กลยุทธ์การบริหารลูกค้าสัมพันธ์ และการรับรู้คุณภาพบริการ มีอิทธิพลทางตรงต่อความพึงพอใจในการใช้บริการห้างสรรพสินค้า รวมถึงการรับรู้กลยุทธ์การบริหารลูกค้าสัมพันธ์และการรับรู้คุณภาพบริการ มีอิทธิพลทางตรงต่อความภักดีในการใช้บริการห้างสรรพสินค้า โดยที่การรับรู้ กลยุทธ์การบริหารลูกค้าสัมพันธ์ และการรับรู้คุณภาพบริการมีอิทธิพลทางอ้อมต่อความภักดีในการใช้บริการห้างสรรพสินค้า โดยผ่านความพึงใจในการใช้บริการห้างสรรพสินค้า และมีอิทธิพลรวมในเชิงบวกต่อความภักดีในการใช้บริการห้างสรรพสินค้าในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

Article Details

How to Cite
วิลามาศ ช., ทรัพย์ประเสริฐ ธ., พวงเงิน ป., กล่อมเกลา ก., & จันทร์ประเสริฐ ส. (2024). รูปแบบความภักดีต่อการใช้บริการห้างสรรพสินค้าในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารสังคมศาสตร์และวัฒนธรรม, 8(7), 79–91. สืบค้น จาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/JSC/article/view/274876
บท
บทความวิจัย
Author Biography

ธีระศักดิ์ ทรัพย์ประเสริฐ, คณะบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ พระนครศรีอยุธยา ประเทศไทย

university professor

References

กัญญารัตน์ รัตนทิพย์ และคณะ. (2566). ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการร้าน KSA คาเฟ่. วารสารการจัดการการท่องเที่ยว นันทนจิตและจิตบริการ, 5(1), 1-13.

กิตติวรรณ จันทร์เอียด. (2567). อิทธิพลของการรับรู้ภาพลักษณ์องค์การที่ส่งผลต่อความจงรักภักดีต่อการใช้บริการผ่านการรับรู้คุณภาพการให้บริการ โรงพยาบาลสัตว์ คณะสัตวแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย. วารสารวิชาการร้อยแก่นสาร, 9(1), 87-101.

เกศินี มาลัยเจริญ และวสุธิดา นุริตมนต์. (2563). การรับรู้กลยุทธ์การบริหารลูกค้าสัมพันธ์ที่ส่งผลต่อการซื้อซ้ำของลูกค้าร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิมในอำเภอวิเศษชัยชาญ จังหวัดอ่างทอง. วารสารวิจัย มข. สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (ฉบับบัณฑิตศึกษา), 8(3), 165-177.

ชนพงษ์ อาภรณ์พิศาล. (2562). เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 11 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. กรุงเทพมหานคร: บริษัท วิน - วิน ดิจิตอล พริ้นติ้ง จํากัด.

ณัฐนันท์ ฐิติยาปราโมทย์. (2563). คุณค่าที่รับรู้ คุณภาพการบริการและความหลากหลายของกิจการการท่องเที่ยวที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวในเทศกาลหิมะและน้ำแข็งของนักท่องเที่ยวชาวจีนเมืองฉางชุน มณฑลจี๋หลิน ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน. วารสารวิทยาการจัดการสมัยใหม่, 14(1), 29-42.

ดวงฤทัย ศรีระษา และพัชร์หทัย จารุทวีผลนุกูล. (2562). ปัจจัยความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อความภักดี ของผู้ใช้บริการธนาคารกรุงศรีอยุธยา สาขาบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี. วารสารวิชาการการตลาด และการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 6(1), 46-57.

ดาวสวรรค์ สุขพันธุ์ และคณะ. (2565). การตลาดเชิงสัมพันธ์ การรับรู้คุณภาพบริการและความพึงพอใจที่มีอิทธิพลต่อความภักดีของลูกค้าที่ใช้บริการจากผู้แทนขายอุปกรณ์ทดแทนหรืออุปกรณ์เสริมเพื่อการรักษาในประเทศไทย. วารสารลวศรี มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี, 6(1), 52-70.

ตวงทอง ลาภเจริญทรัพย์. (2565). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริหารลูกค้าสัมพันธ์และความภักดีต่อห้างสรรพสินค้าในกรุงเทพมหานคร. วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริก, 40(2), 123-141.

ธนัญกรณ์ นุ้ยเมือง. (2566). ความพึงพอใจในการใช้บริการสนามฝึกซ้อมกอล์ฟ: กรณีศึกษา สนามฝึกซ้อมกอล์ฟบ้านสน จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารวิชาการคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช, 2(1), 1-33.

ธนารัตน์ สุธีลักษณ์ และปราณี เอี่ยมละออภักดี. (2567). การสื่อสารการตลาดแบบดิจิทัลและเส้นทางประสบการณ์การใช้บริการของลูกค้าที่ส่งผลต่อความภักดีในการใช้บริการของธนาคารอาคารสงเคราะห์เขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วารสารเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล, 14(1), 123-132.

ธันย์ ชัยทร และคณะ. (2566). กลยุทธ์การตลาดและการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ที่มีผลต่อความพึงพอใจของลูกค้าที่ใช้บริการขนส่งสินค้าทางถนน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอาหารแช่แข็งในประเทศไทย. วารสารวิชาการ การจัดการภาครัฐและเอกชน, 5(2), 149-163.

ธีรภัทร์ ทองใบ และคณะ. (2567). ความคาดหวังของนักท่องเที่ยวด้านคุณภาพบริการและมาตรฐานความปลอดภัยด้านสุขอนามัยต่อการเลือกใช้บริการโรงแรมในจังหวัดเชียงราย. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 10(1), 155-168.

ธีระศักดิ์ ทรัพย์ประเสริฐ และคณะ. (2566). คุณภาพชีวิตและความมั่นคงในการทำงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานยุคโควิด-19 ของผู้มีงานทำในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. วารสารศิลปศาสตร์ราชมงคลสุวรรณภูมิ, 5(2), 433-447.

นรินทร์ ตันไพบูลย์. (2565). แนวโน้มธุรกิจ/อุตสาหกรรม ปี 2566 - 2568 ธุรกิจร้านค้าปลีกสมัยใหม่. เรียกใช้เมื่อ 15 พฤศจิกายน 2566 จาก https://www.krungsri.com/th/research/industry/industry-outlook/wholesale-retail/modern-trade/io/modern-trade-2022

บุญชม ศรีสะอาด. (2545). การวิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพมหานคร: สุวีริยสาส์น.

เบญจวรรณ มิ่งขวัญ และปฐมพงค์ กุกแก้ว. (2566). การบริหารลูกค้าสัมพันธ์ที่ส่งผลต่อความภักดีของลูกค้าองค์กรต่อบริการอินเทอร์เน็ต บริษัท โทรคมนาคมแห่งชาติ จำกัด (มหาชน). วารสาร มจร สังคมศาสตร์ปริทรรศน์, 12(6), 128-138.

ปรมาพร ทีฆธนานนท์ และดารณี เกตุชมภู. (2567). ผลกระทบของการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ที่มีต่อความจงรักภักดีของลูกค้าศูนย์มาสด้านครพนม. วารสารดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์, 14(1), 106-118.

พงศ์สฎา เฉลิมกลิ่น. (2567). ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของความพึงพอใจที่ส่งผลต่อความภักดีของผู้ใช้บริการสปาและนวดแผนไทย ในจังหวัดกาญจนบุรี. วารสารสหวิทยาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 7(2), 1060-1080.

พิมล์ลภัส วิมลโนธ และพัชร์หทัย จารุทวีผลนุกูล. (2563). ปัจจัยส่วนประสมการตลาดบริการและรูปแบบการดำเนินชีวิตที่ส่งผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลพลาซาลาดพร้าวของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร. ใน รายงานสืบเนื่องจากการประชุมนำเสนอผลงานวิจัยบัณฑิตศึกษาระดับชาติ ครั้งที่ 18 ปีการศึกษา 2566 (หน้า 337-349). มหาวิทยาลัยรังสิต: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยรังสิต.

พิรญาณ์ ไตรศิลป์วิศิรุต และคณะ. (2566). คุณภาพการให้้บริการที่ส่งผลต่อคุวามภักดี่ของผู้เข้ารับบริการนวดเพื่อสุขภาพของสถานประกอบการเพื่อสุขภาพในจังหวัดเพชรบุรีโดยส่งผ่านการบริหารลูกค้าสัมพันธ์และการบริหารประสบการณ์ลูกค้า. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 11(2), 29-45.

พีรศักดิ์ แก้วคำลา และจันทรัศม์ ภูติอริยวัฒน์. (2567). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อสมรรถนะผู้เรียนตามแนวคิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรปราการ. วารสารสังคมศาสตร์และวัฒนธรรม, 8(4), 24-37.

ภาคภูมิ พิสุทธิวงษ์ และคณะ. (2566). คุณภาพการบริการและความพึงพอใจที่สัมพันธ์กับความภักดีของการใช้บริการโรงพยาบาลเอกชนของชาวจีนที่อาศัยอยู่ในจังหวัดเชียงใหม่ช่วงโควิด-19. วารสารการประชุมวิชาการวิจัยสหสาขาวิชา, 1(5), 53-65.

ยุพาวดี อุทธสิงห์ และแสงทอง บุญยิ่ง. (2565). การบริหารลูกค้าสัมพันธ์บนสื่อสังคมออนไลน์ที่ส่งผลต่อความภักดีอิเล็กทรอนิกส์ผ่านคุณภาพการบริการของสถาบัน สมาร์ท เบรน. วารสาร มรภ.กพ. วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี, 1(2), 179-193.

วรณัชชา พลอยพยัฆค์. (2564). อิทธิพลที่มีผลต่อต่อความภักดีในการใช้บริการธุรกิจจัดเลี้ยงโต๊ะจีนในเขตจังหวัดนครปฐม. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์, 4(2), 21-32.

วราภรณ์ ด่านศิริ และชัชวาล สิทธิวงษ์. (2566). นวัตกรรมการบริการและผลประโยชน์เชิงสัมพันธ์ของแอปพลิเคชันจัดส่งอาหารที่ส่งผลต่อความภักดีโดยผ่านความพึงพอใจของลูกค้า. วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 10(1), 84-107.

ศศิประภา พรหมทอง. (2566). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของการบริหารจัดการโลจิสติกส์ของผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชนของกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน. วารสารสังคมศาสตร์และวัฒนธรรม, 7(4), 281-296.

ศิรินา วาจาสัตย์ และพระมหาเกรียงไกร ฐิตวีโร. (2567). ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของครูโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัญศึกษา อำเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี. วารสารสังคมศาสตร์และวัฒนธรรม, 8(1), 323-334.

อัสรียาภร สง่าอารีย์กุล. (2563). โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความภักดีของลูกค้าที่ใช้บริการขนส่งพัสดุ. วารสารวิชาการเซาธ์อีสท์บางกอก (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 7(2), 113-125.

Etikan, l. (2017). Sampling and Sampling Methods. Biometrics & Biostatistics International Journal, 5(6), 215-216.

Hair, J. F. et al. (2018). Multivariate data analysis (8th ed.). United Kingdom: Cengage Learning.

Oliver, R. L. (1999). Whence Consumer Loyalty? Journal of Marketing, 63(4), 33-44.

Rovinelli, R. J. & Hambleton, R. K. (1977). On the Use of Content Specialists in the Assessment of Criterion-Referenced Test Item Validity. Tijdschrift Voor Onderwijs Research, 2(2), 49-60.