ประสบการณ์การเผชิญการเจ็บป่วยและแก่นสาระของพุทธธรรมที่นำมาใช้ขณะเจ็บป่วยของผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรงระยะลุกลาม
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาประสบการณ์การเผชิญกับการเจ็บป่วยของผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรงระยะลุกลามและแก่นสาระของพุทธรรมที่นำมาใช้ขณะเจ็บป่วย เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ได้แก่ ผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรงระยะลุกลามที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตด้วยวิถีพุทธ จำนวน 22 ราย เครื่องมือวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์เชิงลึก เก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์ การสังเกต และข้อมูลบันทึกการเยี่ยม วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา ความน่าเชื่อถือของข้อมูลดำเนินการตามเกณฑ์ของ
ลินคอนและกูบา ผลการวิจัยพบว่า ประสบการณ์การเผชิญกับการเจ็บป่วยของผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรงระยะลุกลาม และแก่นสาระของพุทธรรมที่นำมาใช้ขณะเจ็บป่วย มี 2 ประเด็น คือ 1) การเผชิญกับการเจ็บป่วยด้วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และไส้ตรงระยะลุกลาม ได้แก่ 1.1) เรียนรู้กับการเจ็บป่วยที่รักษาไม่หาย มีอาการหนัก โอกาสรอดชีวิตต่ำ รักษายาวนานต่อเนื่อง และต้องมีทุนทรัพย์ 1.2) ชีวิตเปลี่ยนแปลง: ด้านร่างกาย จิตใจ และการดำเนินชีวิต และ 1.3) ดูแลกายและใจเพื่อต่อสู้กับการเจ็บป่วย โดยปรับเรื่องอาหารและการใช้ชีวิตในสังคม ค้นหาคำตอบของชีวิตและการเจ็บป่วย และเยียวยาใจ โดยมีครอบครัวและสังคมสนับสนุน และ 2) การบำบัดทุกข์ขณะเจ็บป่วยด้วยหลักพุทธธรรม ได้แก่ 2.1) เริ่มที่ใจจากมีความเชื่อและศรัทธาและเปิดใจเรียนรู้ 2.2) ยึดหลักธรรมเป็นสรณะ: พระไตรลักษณ์ และกฎแห่งกรรม และ 2.3) หลักพุทธธรรมกับมุมมองในการบำบัดทุกข์ทางใจของผู้เจ็บป่วยต่างศาสนา ได้แก่ ไตรลักษณ์: สัจจธรรมของชีวิต และการทำความดีตามหลักคำสอนของศาสนาที่ตนนับถือ
Article Details
References
จำนงค์ อดิวัฒนสิทธิ์. (2562). ปรัชญาทางสังคมแห่งพระพุทธศาสนา. นนทบุรี: หจก.นิติธรรมการพิมพ์.
ชนิกา นิ่มสันต์. (2558). ประสบการณ์ชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักที่มีทวารเทียมทางหน้าท้องชนิดถาวรในโรงพยาบาลรามาธิบดี. ใน วิทยานิพนธ์สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการการสร้างเสริมสุขภาพ. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
นามสมมติ คุณ b1. (2 ม.ค. 2567). ประสบการณ์การเจ็บป่วยและการนำหลักพุทธธรรมไปใช้ขณะมีการเจ็บป่วย. (แสงเดือน พรมแก้วงาม, ผู้สัมภาษณ์)
นามสมมติ คุณ b10. (1 ก.ย. 2567). ประสบการณ์การเจ็บป่วยและการนำหลักพุทธธรรมไปใช้ขณะมีการเจ็บป่วย. (อารยา เจรนุกุล, ผู้สัมภาษณ์)
นามสมมติ คุณ b11. (7 ก.ย. 2567). ประสบการณ์การเจ็บป่วยและการนำหลักพุทธธรรมไปใช้ขณะมีการเจ็บป่วย. (อารยา เจรนุกุล, ผู้สัมภาษณ์)
นามสมมติ คุณ b2. (24 ม.ค. 2567). ประสบการณ์การเจ็บป่วยและการนำหลักพุทธธรรมไปใช้ขณะมีเจ็บป่วย. (อารยา เจรนุกุล, ผู้สัมภาษณ์)
นามสมมติ คุณ b3. (24 ม.ค. 2567). ประสบการณ์การเจ็บป่วยและการนำหลักพุทธธรรมไปใช้ขณะมีการเจ็บป่วย. (แสงเดือน พรมแก้วงาม, ผู้สัมภาษณ์)
นามสมมติ คุณ b4. (27 ม.ค. 2567). ประสบการณ์การเจ็บป่วยและการนำหลักพุทธธรรมไปใช้ขณะมีการเจ็บป่วย. (อารยา เจรนุกุล, ผู้สัมภาษณ์)
นามสมมติ คุณ b5. (6 ก.พ. 2567). ประสบการณ์การเจ็บป่วยและการนำหลักพุทธธรรมไปใช้ขณะมีการเจ็บป่วย. (อารยา เจรนุกุล, ผู้สัมภาษณ์)
นามสมมติ คุณ b6. (13 ก.พ. 2567). ประสบการณ์การเจ็บป่วยและการนำหลักพุทธธรรมไปใช้ขณะมีการเจ็บป่วย. (แสงเดือน พรมแก้วงาม, ผู้สัมภาษณ์)
นามสมมติ คุณ b7. (13 ก.พ. 2567). ประสบการณ์การเจ็บป่วยและการนำหลักพุทธธรรมไปใช้ขณะมีการเจ็บป่วย. (นงลักษณ์ อนันตอาจ, ผู้สัมภาษณ์)
นามสมมติ คุณ b8. (5 ก.ย. 2567). ประสบการณ์การเจ็บป่วยและการนำหลักพุทธธรรมไปใช้ขณะมีการเจ็บป่วย. (แสงเดือน พรมแก้วงาม, ผู้สัมภาษณ์)
นามสมมติ คุณ b9. (13 ก.ย. 2567). ประสบการณ์การเจ็บป่วยและการนำหลักพุทธธรรมไปใช้ขณะมีการเจ็บป่วย. (อารยา เจรนุกุล, ผู้สัมภาษณ์)
นามสมมติ คุณ e1. (1 ต.ค. 2566). ประสบการณ์การเจ็บป่วยและการนำหลักพุทธธรรมไปใช้ขณะมีการเจ็บป่วย. (กฤษณา รักษาโฉม, ผู้สัมภาษณ์)
นามสมมติ คุณ e10. (19 ก.ย. 2567). ประสบการณ์การเจ็บป่วยและการนำหลักพุทธธรรมไปใช้ขณะมีการเจ็บป่วย. (อารยา เจรนุกุล, ผู้สัมภาษณ์)
นามสมมติ คุณ e11. (20 ก.ย. 2567). ประสบการณ์การเจ็บป่วยและการนำหลักพุทธธรรมไปใช้ขณะมีการเจ็บป่วย. (แสงเดือน พรมแก้วงาม, ผู้สัมภาษณ์)
นามสมมติ คุณ e2. (21 ม.ค. 2567). ประสบการณ์การเจ็บป่วยและการนำหลักพุทธธรรมไปใช้ขณะมีการเจ็บป่วย. (อารยา เจรนุกุล, ผู้สัมภาษณ์)
นามสมมติ คุณ e3. (21 ม.ค. 2567). ประสบการณ์การเจ็บป่วยและการนำหลักพุทธธรรมไปใช้ขณะมีการเจ็บป่วย. (อารยา เจรนุกุล, ผู้สัมภาษณ์)
นามสมมติ คุณ e4. (13 ม.ค. 2567). ประสบการณ์การเจ็บป่วยและการนำหลักพุทธธรรมไปใช้ขณะมีการเจ็บป่วย. (อารยา เจรนุกุล, ผู้สัมภาษณ์)
นามสมมติ คุณ e5. (1 เม.ย. 2567). ประสบการณ์การเจ็บป่วยและการนำหลักพุทธธรรมไปใช้ขณะมีการเจ็บป่วย. (อารยา เจรนุกุล, ผู้สัมภาษณ์)
นามสมมติ คุณ e6. (19 ก.พ. 2567). ประสบการณ์การเจ็บป่วยและการนำหลักพุทธธรรมไปใช้ขณะมีการเจ็บป่วย. (อารยา เจรนุกุล, ผู้สัมภาษณ์)
นามสมมติ คุณ e7. (30 เม.ย. 2567). ประสบการณ์การเจ็บป่วยและการนำหลักพุทธธรรมไปใช้ขณะมีการเจ็บป่วย. (อารยา เจรนุกุล, ผู้สัมภาษณ์)
นามสมมติ คุณ e8. (13 ก.ย. 2567). ประสบการณ์การเจ็บป่วยและการนำหลักพุทธธรรมไปใช้ขณะมีการเจ็บป่วย. (อารยา เจรนุกุล, ผู้สัมภาษณ์)
นามสมมติ คุณ e9. (10 ก.ย. 2567). ประสบการณ์การเจ็บป่วยและการนำหลักพุทธธรรมไปใช้ขณะมีการเจ็บป่วย. (อารยา เจรนุกุล, ผู้สัมภาษณ์)
ประทีป ฉัตรสุภางค์. (2567). ชีวิต ความเจ็บป่วยและความตายในคริสต์ศาสนา. วารสารมหาจุฬาวิชาการ, 1(1), 76-87.
ปาริชาติ เปรมวิชัย. (2566). นโยบายสาธารณเพื่อสุขภาพโดยใช้หลักพุทธธรรม. วารสารสหวิทยาการนวัตกรรมปริทรรศน์, 6(3), 203-211.
ปิยาภรณ์ อินทผลัญ และกนกวรรณ สุวรรณปฏิกรณ์. (2563). การพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักที่ได้รับการรักษาด้วยยาเคมีบำบัด. วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย, 13(2), 98-113.
พรพิมล เลิศพานิช และคณะ. (2560). ประสบการณ์ อาการ และคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งระยะลุกลามที่ได้รับเคมีบำบัด. สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, 6(1), 45-55.
พรพิมล เลิศพานิช และคณะ. (2564). ความสัมพันธ์ของความรุนแรงของอาการที่พบบ่อยทางคลินิกกับความวิตกกังวลและภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยมะเร็งระยะลุกลาม. วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, 41(3), 1-12.
พระปลัดกมลมาศ เลขธมฺโม และคณะ. (2564). กระบวนการส่งเสริมการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายตามแนวพระพุทธศาสนาของประชาชนในเขตอำเภอตรอน จังหวัดอุตรดิตถ์. เรียกใช้เมื่อ 10 มิถุนายน 2567 จาก https://www.firstojs.com/index.php/JDW/article/view/1035/598
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตโต). (2554). แก่นแท้ของพระพุทธศาสนา (ทุกข์สำหรับเห็น - สุขสำหรับเป็น). (พิมพ์ครั้งที่ 17). กรุงเทพมหานคร: กรมศาสนา กระทรวงการศึกษา.
พระภัทธชาพงษ์ สิริภัทโท (ก่ำชัยภูมิ) และคณะ. (2564). ความสำคัญของการนําหลักธรรมในพระพุทธศาสนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน. วารสารสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 5(1), 279-286.
พระอธิการสมพร อนาลโย และคณะ. (2562). วิเคราะห์ ศรัทธาในระบบความเชื่อจากคำสอนของพระพุทธศาสนา. วารสารวนัมฎองแหรกพุทธศาสตรปริทรรศน์, 6(1), 91-103.
พัชรินทร์ แก้วรัตน์ และคณะ. (2560). ประสบการณ์ชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่ขณะรักษาด้วยเคมีบำบัด. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 11(1), 224-234.
ภูริเชษฐ์ สมพล และคณะ. (2565). วิเคราะห์ความเป็นจริงของสรรพสิ่งตามกฎไตรลักษณ์ในพุทธปรัชญาเถรวาท. วารสารนิสิตวัง, 24(2), 103-108.
มณี อาภานันทิกุล. (2563). การวิจัยปรากฏการณ์วิทยา: การประยุกต์ใช้ในการวิจัยทางการพยาบาล. กรุงเทพมหานคร: โครงการตํารารามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล.
มะลิวรรณ กระโพธิ์. (2561). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการยอมรับความตายของผู้ป่วยมะเร็งระยะลุกลาม. ใน วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วราภรณ์ สาวิสิทธิ์. (2566). ภาวะสุขภาพจิตและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งระยะลุกลามกับการดูแลสุขภาพแบบประคับประคองของครอบครัวในชุมชนชนบท ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารสาธารณสุขมูลฐาน (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ), 38(1), 141-155.
สถาบันมะเร็งแห่งชาติ. (2565). ทะเบียนมะเร็งระดับโรงพยาบาล พ.ศ. 2564. เรียกใช้เมื่อ 1 กันยายน 2567 จาก https://www.nci.go.th/e_book/hosbased_2564/index.html
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2564). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. เรียกใช้เมื่อ 12 กันยายน 2567 จาก https://www.watnyanaves.net/uploads/File/books/pdf/dictionary_of_buddhism_pra-muan-dhaama.pdf
สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป. อ. ปยุตฺโต). (2565). พุทธธรรมฉบับปรับขยาย (ฉบับข้อมูลคอมพิวเตอร์ ครั้งที่ 24). เรียกใช้เมื่อ 12 กันยายน 2567 จาก https://www.watnyanaves.net/th/book_detail/583
สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. (2561). แผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี ด้านสาธารณสุข (พ.ศ. 2560 - 2579) ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2561). เรียกใช้เมื่อ 20 กรกฎาคม 2567 จาก https://spd.moph.go.th/wp-content/uploads/2022/09/strategymoph61_v10.pdf.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2566). มิติหญิงชายในบริบทสังคมไทย 2566. เรียกใช้เมื่อ 18 กันยายน 2567 จาก https://www.nso.go.th/public/e-book/Analytical-Reports/Report_Gender_2023/
อธิพัฒน์ อธิพงษ์อาภรณ์. (2558). ธรรมะกับโรคมะเร็ง สิ่งที่ไม่ไกลแค่ใช้ใจมอง. เรียกใช้เมื่อ 1 กันยายน 2567 จาก https://www.rama.mahidol.ac.th/atrama/issue018/easy-living
Aktas, A. & Ugur, O. (2023). The effect of physical and psychological symptoms on spiritualwell-being and emotional distress in inpatient cancer patients. Supportive Care in Cancer, 31(473), 472-473.
Constantin, V. D. et al. (2023). Diagnosis and management of colon cancer patients presenting in advanced stages of complications. Journal of Mind and Medical Sciences, 10(1), 51-65.
Diekelmann, N. & Allen, D. A. (1989). The NLN criteria for appraisal of baccalaureate programs: A critical hermeneutic analysis. New York: National League for Nursing.
Drury, A. et al. (2022). Prevalence vs impact: A mixed methods study of survivorship issues in colorectal cancer. Quality of Life Research, 31(4), 1117-1134.
Holloway, I. & Galvin, K. (2017). Qualitative research in nursing and healthcare. (4th ed.). Chichester West Sussex: John Wiley & Sons.
Kubler-Ross, E. & Kessler, D. (2014). Finding the meaning of grief through the five stages of loss on grief and grieving. London: Simon & Schuster.
Lim, C. Y. S. et al. (2021). Colorectal cancer survivorship: A systematic review and thematic synthesis of qualitative research. Retrieved October 15 , 2024, from https://onlinelibrary.wiley.com/doi/epdf/10.1111/ecc.13421
Lincoln, Y. S. & Guba, E. G. (1985). Naturalistic Inquiry. Bevery Hills. California: Sage.
Lovall, C. et al. (2024). Patients' experiences of living with low anterior resection syndrome three to six months after colorectal cancer surgery: A phenomenological study. PLOS ONE, 19(7), 1-16.
Morris, V. K. et al. (2024). Treatment of metastatic colorectal cancer: ASCO Guideline. Journal of Clinical Oncology, 41(1), 678-700.
Song, L. et al. (2020). Body image mediates the effect of stoma status on psychological distress and quality of life in patients with colorectal cancer. Psycho‐Oncology, 29(4), 796-802.
Stavropoulou, A. et al. (2021). “Living with a stoma”: Exploring the lived experience of patients with permanent colostomy. International Journal of Environmental Research and Public Health, 18(16), 1-15.
Tabriz, E. R. et al. (2021). Health-promoting lifestyle in colorectal cancer survivors: A qualitative study on the experiences and perspectives of colorectal cancer survivors and healthcare providers. Asia-Pacific Journal of Oncology Nursing, 8(6), 696-710.
Tipseankhum, N. (2016). Experiences of people with advanced cancer in home-based palliative care. Pacific Rim International Journal of Nursing Research, 20(3), 238-251.