ดนตรีในพระพุทธศาสนาเถรวาทกับศาสตร์สมัยใหม่

ผู้แต่ง

  • นิติกร วิชชุมา -

คำสำคัญ:

ดนตรี, พระพุทธศาสนาเถรวาท, ศาสตร์สมัยใหม่

บทคัดย่อ

          ดนตรีที่ปรากฏในคัมภีร์พระพุทธศาสนานำไปใช้ประโยชน์ในด้านศิลปะหรือสุนทรียศาสตร์ การสื่อสาร ความบันเทิง และได้รับความเพลิดเพลินเป็นการผ่อนคลายความตึงเครียด รวมไปถึงใช้ประโยชน์ในงานพิธีกรรม และประกอบการแสดงต่างๆ ทางพระพุทธศาสนา การใช้ดนตรีในพระพุทธศาสนาเถรวาทสามารถสร้างความรู้สึกกล่อมเกลาจิตใจให้เกิดความศรัทธาและความเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา และการใช้ดนตรีในพระพุทธศาสนายังมีส่วนเกี่ยวข้องกับการประกอบในพิธีกรรมทางศาสนา ทำให้ผู้ฟังเกิดความกล้าหาญ และเข้าใจในการดำเนินชีวิตอย่างมีความสุขในสังคมไทยปัจจุบัน

References

เรณู โกศินานนท์. (2545). นาฏดุริยางค์สังคีตกับสังคมไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จำกัด.

ธนิต อยู่โพธิ์. (2498). ดนตรีในพระธรรมวินัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์พระจันทร์.

วัดป่ามหาชัย. (2565). พระคาถาป้องกันภัยสิบทิศ. สืบค้น 15 มีนาคม 2565. จาก http://www.watpamahachai.net/watpamahachai-48.htm.

พระมหาสาคร ศรีดี. (2562). พุทธจริยธรรมกับดนตรี. สืบค้น 14 มีนาคม 2565. จาก http://www.thaicadet.org/Buddhism/BuddhistEthics-Music.html

พระอุดรคณาธิการ (ชวินทร์ สระคำ). (2538). พจนานุกรม บาลี – ไทย. กรุงเทพฯ: ประยูรวงค์พริ้นท์ติ้ง จำกัด.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

สนั่น บุณยศิริพันธ์. (2498). ดนตรีในพระธรรมวินัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ท่าพระจันทร์.

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). (2555). ศิลปะศาสตร์แนวพุทธ. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: มูลนิธิพุทธธรรม.

สุรพล สุวรรณ. (2551). ดนตรีไทยในวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-06-15